Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8984
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิวัฒน์ บัวลอย, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-21T06:55:45Z-
dc.date.available2023-08-21T06:55:45Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8984-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจ ของนักศึกษากลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว (2) เปรียบเทียบทักษะชีวิต ด้านการตัดสินใจของนักศึกษากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง และ (3) ศึกษา ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 30 คน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ในปีการศึกษา 2558 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จากนักศึกษาที่มีระดับทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจอยู่ในระดับปานกลางลงมา แล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 15 คนเท่ากัน กลุ่มทดลองได้ใช้ ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจ กลุ่มควบคุมได้รับกิจกรรมแนะแนว แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจ ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .71 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจ (3) กิจกรรมแนะแนว แบบปกติ และ (4) แบบวัดความพึงพอใจต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ด้านการตัดสินใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลอง นักศึกษากลุ่มทดลองมีทักษะชีวิต ด้านการตัดสินใจเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ภายหลัง การทดลองนักศึกษากลุ่มทดลองมีทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจสูงกว่าของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.212en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทักษะชีวิตth_TH
dc.subjectนักศึกษา -- การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการแนะแนว -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีการประมง และทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop life skills for decision making of Third Year students of Faculty of Fisheries Technology and Aquatic Resources, Maejo University, Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare levels of life skills for decision making in the experimental group students before and after using a guidance activities package; (2) to compare post-experiment levels of life skills for decision making of students in the experimental and control groups; and (3) to study the students’ satisfaction with the guidance activities package to develop life skills for decision making. The research sample consisted of 30 third year students of the Faculty of Fisheries Technology and Aquatic Resources, Maejo University, Chiang Mai province, obtained by cluster sampling from those whose life skills for decision making were at the moderate level or lower. Then, they were randomly divided into the experimental group and the control group, each of which consisting of 15 students. The experimental group students used a guidance activities package to develop life skills for decision making; while the control group students undertook traditional guidance activities. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to develop life skills for decision making; (2) a scale to assess life skills for decision making, with reliability coefficient of .71; (3) the traditional guidance activities; and (4) a scale to assess the student’s satisfaction with the guidance activities package to develop life skills for decision making. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the post-experiment level of life skills for decision making of the experimental group students was significantly higher than their pre-experiment counterpart level at the .01 level; (2) the post-experiment level of life skills for decision making of the experimental group students was significantly higher than the post-experiment counterpart level of the control group students at the .05 level; and (3) the students’ satisfaction with the guidance activities package to develop life skills for decision making was at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153217.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons