Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8988
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลัดดาวรรณ ณ ระนอง | th_TH |
dc.contributor.author | กัญจน์ภัส เกตุโรจน์, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-22T00:46:50Z | - |
dc.date.available | 2023-08-22T00:46:50Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8988 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในวุฒิภาวะด้านอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ในกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในวุฒิภาวะด้านอาชีพของนักเรียนกลุ่มทดลอง หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกับในระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย จังหวัดภูเก็ต ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ (1) แบบวัดการตระหนักรู้ในวุฒิภาวะด้านอาชีพ มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .91 และ (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในวุฒิภาวะด้านอาชีพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในวุฒิภาวะด้านอาชีพ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ในกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการตระหนักรู้ในวุฒิภาวะด้านอาชีพเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองมีการตระหนักรู้ในวุฒิภาวะด้านอาชีพหลังการทดลองกับระยะติดตามผล ไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา-- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนวอาชีพ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาขั้นมัธยม--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในวุฒิภาวะด้านอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย จังหวัดภูเก็ต | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using a guidance activities package to improve awareness in career maturity of Mathayom Suksa III students at Phuket Wittayalai School in Phuket Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare the levels of awareness in career maturity of Mathayom Suksa III students at Phuket Wittayalai School in the experimental group before and after using a guidance activities package; and (2) to compare the awareness level in career maturity of the students in the experimental group with their counterpart level during the follow up period. The research sample consisted of 30 Mathayom Suksa III students at Phuket Wittayalai School in Phuket province during the 2015 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) a scale to assess awareness in career maturity, with .91 reliability coefficient, a guidance activities package to develop time management ability, and (2) a guidance activities package to improve awareness in career maturity, with .91 reliability coefficient. The data were statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The results revealed that (1) after using the guidance activities package to improve awareness in career maturity, the post-experiment mean score of awareness in career maturity of Mathayom Suksa III students at Phuket Wittayalai School in the experimental group was significantly higher than their pre-experiment counterpart mean score at the .01 level of statistical significance; and (2) the levels of awareness in career maturity of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow up period were not significantly different. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิรนาท แสนสา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
153227.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License