Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8989
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์th_TH
dc.contributor.authorรสสุคนธ์ รุ้งประนมกร, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T01:02:25Z-
dc.date.available2023-08-22T01:02:25Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8989en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างก่อนและหลังจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าสองแค อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 22 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน (2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ (3) แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ (4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) นักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบจำลองเป็นฐานมีคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) นักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบจำลองเป็นฐานมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.233en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--แม่ฮ่องสอนth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์th_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่องแรงและการเคลื่อนที่เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในศูนย์เครือข่ายการพัฒนาการศึกษาแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeEffects of using model-based learning in the topic of force and motion to develop science learning achievement and science process skills of Prathom Suksa V Students in Mae La Noi Educational Development Network, Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare science process skills of Prathom Suksa V students before and after learning with the use of model-based learning; (2) to compare science learning achievements on the topic Force and Motion of Prathom Suksa V students before and after learning with the use of model-based learning; and (3) to study satisfaction of the students with the model-based learning management. The research sample consisted of 22 Prathom Suksa V students studying in the first semester of the 2016 academic year at Ban Tha Songkhae School in Mae La Noi district, Mae Hong Son province, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans with the use of model-based learning; (2) a test of science process skills; (3) a science learning achievement test on the topic of Force and Motion; and (4) a questionnaire to assess student’s satisfaction with the model-based learning management. Statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the post-learning scores on science process skills of students learning with the use of model-based learning were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .01 level of statistical significance; (2) the science learning achievement scores on the topic of Force and Motion was significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .01 level of statistical significance; and (3) the students were satisfied with the model-based learning management at the highest level.en_US
dc.contributor.coadvisorดวงเดือน พินสุวรรณ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153289.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons