Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8998
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนลินี ณ นครth_TH
dc.contributor.authorธัญญา แก้วศรีหาวงษ์, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T03:01:56Z-
dc.date.available2023-08-22T03:01:56Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8998en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความสอดคล้องระหว่างการจัดประสบการณ์กับมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยของครูในจังหวัดนครปฐม (2) ประเมินความสอดคล้องระหว่างการประเมินทักษะกับมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยของครูในจังหวัดนครปฐม (3) ประเมินความสอดคล้องระหว่างการจัดประสบการณ์กับการประเมินทักษะคณิตศาสตร์ปฐมวัยของครูในจังหวัดนครปฐม และ(4) เปรียบเทียบความสอดคล้องของการจัดประสบการณ์และการประเมินทักษะคณิตศาสตร์ปฐมวัยของครูในจังหวัดนครปฐมตามอายุ สาขาที่จบการศึกษา ประสบการณ์สอน และสังกัดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นครูปฐมวัยในจังหวัดนครปฐม จำนวน 82 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสำรวจสภาพการจัดประสบการณ์ การประเมินทักษะคณิตศาสตร์ปฐมวัยของเด็กปฐมวัยสำหรับผู้เชี่ยวชาญ 1 ฉบับ และสำหรับครูปฐมวัย 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความสอดคล้องตามวิธีของพอร์เตอร์ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ค่าความสอดคล้องระหว่างการจัดประสบการณ์กับมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยของครูในจังหวัดนครปฐม มีค่าเฉลี่ยความสอดคล้อง เท่ากับ 0.81 (2) ค่าความสอดคล้องระหว่างการประเมินทักษะกับมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยของครูในจังหวัดนครปฐม มีค่าเฉลี่ย ความสอดคล้อง เท่ากับ 0.78 (3) ค่าความสอดคล้องระหว่างการจัดประสบการณ์กับการประเมินทักษะคณิตศาสตร์ปฐมวัยของครูในจังหวัดนครปฐม มีค่าเฉลี่ยความสอดคล้อง เท่ากับ 0.68 และ (4) ผลการเปรียบเทียบความสอดคล้องของการจัดประสบการณ์และการประเมินทักษะคณิตศาสตร์ปฐมวัยของครูในจังหวัดนครปฐม ตามอายุ สาขาที่จบการศึกษา ประสบการณ์สอน และสังกัดของโรงเรียน พบว่า มีค่าความสอดคล้องไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.134en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา-- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินความสอดคล้องระหว่างการจัดประสบการณ์การประเมินทักษะและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยของครูในจังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of alignment between instructional practices, skills assessments, and content standards for early childhood Mathematics teachers in Nakhon Pathom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to evaluate the alignment between instructional practices and mathematics content standards of early childhood teachers in Nakhon Pathom province; (2) to evaluate the alignment between mathematics skills assessments and mathematics content standards of early childhood teachers in Nakhon Pathom province; (3) to evaluate the alignment between instructional practices and mathematics skills assessments of early childhood teachers in Nakhon Pathom province; and (4) to compare the alignments between instructional practices and mathematics skills assessments of early childhood teachers as classified by age, field of study, teaching experience, and school jurisdiction. The research sample consisted of 82 early childhood teachers in Nakhon Pathom province, obtained by stratified random sampling. The employed research instruments were two sets of survey questionnaire on instructional practices and mathematics skills assessment at the early childhood education level. One set of the questionnaire was for the experts; the other set was for early childhood mathematics teachers. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, Porter’s alignment index, and one-way analysis of variance. Research findings showed that (1) the mean of alignment between instructional practices and mathematics content standards of early childhood teachers in Nakhon Pathom province was 0.81; (2) the mean of alignment between skills assessments and mathematics content standards of early childhood teachers in Nakhon Pathom province was 0.78; (3) the mean of alignment between instructional practices and mathematics skills assessments of early childhood teachers in Nakhon Pathom province was 0.68; and (4) no significant difference was found as a result of comparison of the alignments between instructional practices and mathematics skills assessments of early childhood teachers as classified by age, field of study, teaching experience, and school jurisdiction.en_US
dc.contributor.coadvisorสังวรณ์ งัดกระโทกth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154688.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons