Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9010
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตยา กรัดเพ็ชร์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T06:47:51Z-
dc.date.available2023-08-22T06:47:51Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9010en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการระบบทะเบียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี (2) เปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการระบบทะเบียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการ ระบบทะเบียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี ประชากร ได้แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี จำนวน 2,845 คน โดยกลุ่มตัวอย่างจำนวน 369 คน ได้จากการคำนวณตามวิธีของทาโร่ ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้เป็นในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบมาตรประมาณค่าแบบลิเคิร์ท และคำถาม ปลายเปิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ เชพเฟ่ ผลการศึกษาค้นคว้าอิสระพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการระบบทะเบียนนักศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีระดับคุณภาพ ด้านความถูกต้องครบถ้วน ด้านความสะดวกรวดเร็ว ด้านความเหมาะสม ด้านความต้องการและต้าน ความปลอดภัยตามลำดับ (2) นักศึกษาที่มีข้อมูลส่วนบุคคลและพฤติกรรมการใช้งานระบบทะเบียน นักศึกษาที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการระบบทะเบียนนักศึกษาในภาพรวม พบว่าไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (3) ปัญหาสำคัญที่พบได้แก่ การขาดความแม่นยำในการประมวลและระบบเครือข่ายล่มบ่อย แนวทางในการพัฒนาปรับปรุง พบว่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี ควรเพิ่มระดับคุณภาพการให้บริการระบบทะเบียน นักศึกษาให้มีระดับที่มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรีth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการระบบทะเบียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeQuality of student services of Rajamangala University of Technology Surarnabhumi, Suphanburi Centeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aimed (1) tostudy the qualityservices of student registration system, (2) to compare the quality services of student registrationby student personal factors and user behaivior (3) and tostudy the problems and suggestions for Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi, Suphanburi Center. The population consisted of 2,845 students of Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi, Suphanburi Center. The sampling size was 369students specified according to Yamane’s at confidence level of 95% with proportional samplingand the Likert scale. Questionnaires with open-ended questions were conducted to collect dada. The statistics usedfor data analysis were percentage, meanstandard deviation, t- test, one-way ANOVA and Scheffe. The independent studyrevealed that (1) the quality services of student registration system were in the high level, in order of accuracy and completeness , convenience, suitability, demand and safety, (2) respondents to comparisonof different personal behaviors and opinions on the quality services of student registration system as a whole showed no difference at the 0.05 level of significanceso hypothesis was rejectedand (3) the development for the quality services of student registration system should be more increaseden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_141073.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons