Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัฏฐิญา สิริบวรพิพัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนนทวรรณ ปั้นงาม, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T06:56:43Z-
dc.date.available2023-08-22T06:56:43Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9011en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาวิวัฒนาการ แนวคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับ การคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (2) ศึกษากฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญา และการเข้าถึงสิทธิตามกระบวนการยุติธรรม ทางอาญาของไทยและต่างประเทศ (3) วิเคราะห์ปัญหาสิทธิของผู้เสียหายในการเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมตามกฎหมายไทยเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ (4) นำผลการวิเคราะห์มาเสนอแนะ แนวทางแก่ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายในการเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมให้เหมาะสม และสอดคล้องกับหลักสากล การศึกษานี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร ค้นคว้า และรวบรวม ข้อมูลจากตำรา บทความจากวารสารกฎหมาย การสัมมนาทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ รวมทั้งการสืบค้นข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผลการศึกษาพบว่า (1) การคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายในการเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญาของประเทศไทยตามที่บัญญัติไว่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 นั้นสอดคล้องกับหลักสากล (2) กฎหมายไทย และกฎหมายต่างประเทศต่างก็มีบทบัญญัติให้ความคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหาย และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (3) หากเปรียบเทียบการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายตามกฎหมายไทยกับกฎหมายต่างประเทศ และเปรียบเทียบการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายกับผู้ต้องหาหรือจำเลย แล้วจะเห็นได้ว่า กฎหมายไทยไม่ได้กำหนดให้มีการแจ้งสิทธิต่าง ๆ ให้ผู้เสียหายทราบไม่ว่าในขั้นตอน ใดของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาดังเช่นกฎหมายต่างประเทศ แต่สำหรับผู้ต้องหาหรือจำเลยนั้น กำหนดให้มีการแจ้งสิทธิให้ทราบตั้งแต่ขั้นจับกุมหรือควบคุมตัว ซึ่งจากบทบัญญัติดังกล่าวย่อม ก่อให้เกิดปัญหาแก่ผู้เสียหายในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้ (4) ควรแก่ไขปรับปรุง กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวข้องโดยให้หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมมีหน้าที่แจ้งสิทธิดังกล่าวให้ ผู้เสียหายทราบเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสากลต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth_TH
dc.subjectผู้เสียหายth_TH
dc.subjectความยุติธรรมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth_TH
dc.title.alternativeProsecution of victims' right to access crirminal justice systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe object of independent study in article “Protection of Victims' Rights to access Criminal Justice system. are (1) studying the development ,conceptual, theory and the rule of protect on victims’ right to access criminal justice system. (2) studying the legal protection on crime victims’ rights and right to access criminal justice system Thai and foreign. (3) problem analysis on the victims’ rights to criminal justice system compared with Thai’s law and foreign law studied. (4) as a result to propose a law amendment were associated to international standard. The independent study were document research that researcher concluded from the book, article, journal, seminar, research, thesis and electronic information. the independent study as a result are (1) The Protection to Victims' Rights to access criminal justice system were guarantee by The Constitution of the Kingdom of Thailand of B.E. 2550, the Criminal Procedure Code ,and Compensation and Expense to Injured Persons and the Accused in Criminal Cases Act B.E.2544 which were associated to international standard (2) either Thai or foreign they have a protection to Victims' Rights and rights to access criminal justice system by law (3) in the case of comparing between Thai legal protection and foreign, and compare the Rights of Victims with the Rights of the Accused, found that the Thai law didn’t regulate right to be informed in any procedurals or event, in the other the accused will be informed when who is arrested or who is detained, including every sentenced prisoner (4) the proposal an amendment to the department of justice who have a duty should be inform the victims right as the protect the Victims' Rights and right to access criminal justice system that are appropriated with international standard.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_144898.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons