Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9015
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบรรลูน ศิริสิงห์สังชัย, 2507-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T07:13:57Z-
dc.date.available2023-08-22T07:13:57Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9015en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับ พฤติกรรมการซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟน (3) ระดับความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาจากประชากร 86,343 คน ไต้กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยใช้สูตรยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคว์สแควร์ การทดสอบค่าที และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง อายุ 41 ปี ขึ้นไป อาชีพ พนักงานบริษัทฯ/ลูกจ้าง และมีรายได้ต่อเดือน 10,001-15,000 บาท โดยให้ความสำคัญต่อปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดระดับมากที่สุดในด้านผลิตภัณฑ์รองลงมา คือ ด้านราคา ส่วนพฤติกรรมการซื้อ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่วนใหญ่เสือกโทรศัพท์สมาร์ทโฟนยี่ห้อ ซัมซุง เนื่องจาก สินค้ามีราคาไม่แพงมี ฟังก์ชัน การใช้งานที่จำเป็นครบถ้วน เพื่อพูดคุยและติดต่อเรื่องส่วนตัว ซื้อในช่วง ลดราคาหรือมีโปรโมชั่น โดยเป็นผู้ซื้อโทรศัพท์เองจากศูนย์ตัวแทนจำหน่าย เอไอเอส และตัดสินใจซื้อ ด้วยตัวเอง (2) เพศ อายุ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อโทรศัพท์สมาร์ท โฟนในด้าน วัตถุประสงค์ของการซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟน โอกาสในการซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟน และ ใครเป็นผู้ซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนเครื่องที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน (3) ผู้บริโภคที่มีเพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาด แตกต่างกันในต้านช่องทางการจัดจำหน่ายและต้านการส่งเสริม การตลาด ส่วนผู้บริโภคที่มีอาชีพต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาด ต้านช่องทาง การจัดจำหน่ายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมาร์ทโฟน--การจัดซื้อth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อโทรศัพท์สมาร์ทของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors correlated on decision making of smart phone purchasing in Muang Purchasing in Muang Petchaburi District Petchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeAn independent study has a purpose to (1) study on smartphone purchasing behavior of consumers in Petchaburi district, Petchaburi province and (2) a relation between an individual personality’s factor and smartphone purchasing behavior, moreover, (3) a study on a ranking of consumer’s thought and perspectives toward marketing mix’s factors which are classified by personal factor. The following study with a survey of 86,343 people has specified a sample group of 400 people which deploy a YAMANE formula as a tool of surveying. By specifically selecting a sample group, a statistical data used were a mean, standard deviation, Chi-Square test (x2-test), t-test ( Independent Samples Test), One-Way ANOVA and specify a 0.05 range of the statistical significance. The results show that (1) most people were female and above 41 year old, company employees with a salary of 10,001-15,000 baht. They significantly consider on marketing mix’s factors of product, price respectively. A smartphone purchasing behavior of the sample group emphasizes that they mostly select SAMSUNG brand because of a proper price, fully operating functions of chatting and social networking, sale promotion. They had bought smartphones from AIS retailers and decided to purchase by themselves (2) sex, gender, career and income relate to smart phone purchasing behavior, a purpose of purchase, occasion and a use of current smart phone. (3) Persons with different gender have different opinions on the marketing mix, promotion and persons with different career consider distribution channels differently.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltexy_145909.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons