Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9028
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย ศรีรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพดล ติสันเทียะ, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-22T08:23:22Z-
dc.date.available2023-08-22T08:23:22Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9028en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง อำนาจของเจ้าพนักงานตำรวจในการจัดการตามหมายจับ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงกระบวนการทางอาญาในการออกหมายจับและการจัดการตามหมายจับ โดยเจ้าพนักงานตำรวจเพื่อเสนอแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการตามหมายจับตามกฎหมายของสหราชาณาจักร เยอรมนี เปรียบเทียบกับไทย ผลกระทบและปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ดุลยพินิจในการจัดการจัดการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหา และผู้เสียหายในคดีอาญาเกิดประโยชน์สูงสุด การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยศึกษาค้นคว้าจากตัวบทกฎหมาย หนังสือ ตำรา วิทยานิพนธ์ บทความในเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ร่วมกัน ผลการศึกษาพบว่าการเอาตัวผู้ต้องหาที่กระทำความผิดอาญามาไว้ในอำนาจรัฐโดย การจับตามหมายจับ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การสอบสวนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เพื่อการมีตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยในการพิจารณาคดีและบังกับโทษให้เป็นไปตามกฎหมายด้วยเหตุที่ผู้ต้องหานั้น จะหลบหนี จะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐานหรือจะไปก่อเหตุอันตรายประการอื่น แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือการไม่กำหนดเวลาเริ่มดำเนินการจัดการตามหมายจับ การไม่กำหนดเวลาการรายงาน การจัดการตามหมายจับ รวมตลอดถึงการไม่มีทีมงานโดยเฉพาะในการจัดการตามหมายจับ ตามประเภทคดีซึ่งเป็นการเปิดช่องให้เจ้าพนักงานตำรวจสามารถใช้ดุลยพินิจในการเลือกจัดการ ตามหมายจับได้ เป็นสาเหตุให้ผู้ต้องหาตามหมายจับที่มีความจำเป็นจะต้องเอาตัวมาควบคุมไว้ใน อำนาจรัฐไม่ได้รับการตรวจสอบตามวัตถุประสงค์และความจำเป็นในการออกหมายจับเพราะ หมายจับนั้นขาดอายุความลงไป การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมจึงขาดประสิทธิภาพส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาและผู้เสียหายในคดีอาญาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหมายจับth_TH
dc.subjectการจับกุมth_TH
dc.subjectการควบคุมตัวบุคคลth_TH
dc.subjectตำรวจ--การปฏิบัติหน้าที่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleอำนาจของเจ้าพนักงานตำรวจในการจัดการตามหมายจับth_TH
dc.title.alternativePower of police officers to execute the arrest warrantsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe independent study on power of police officers to execute arrest warrants aims to study and compare the criminal justice process including issuance and execution of arrest warrants in the United Kingdom and Germany with that in Thailand, and to study problems resulting from the police officers’ discretion exercise in executing arrest warrants. It suggested measures for the more efficient execution of arrest warrants to ensure that utmost benefits are obtained from crime prevention and suppression, and the protection of the freedom of the accused and victims in criminal cases. The study used legal comparative methodology. It was conducted by studying and analyzing various documents including laws, books, textbooks, theses and articles from related websites. It found that execution of a warrant of arrest and interrogatory detention of the accused in criminal cases aimed to ensure that the interrogation was carried out appropriately in an orderly way and to prevent the accused escape, witnesses and evidence tampering and other intimidating acts. Nevertheless, currently, there is still a failure to specify the starting date of the execution of the arrest warrant and to impose the deadline for the report of the execution of the arrest warrant. The warrant of arrest expiration leads to the failure to accomplish the goals of the issuance of an arrest warrant to interrogate the accused. Additionally, the lack of particular division in charge of the execution of the arrest warrant in accordance with each particular type of crime leads to the police officers’ discretion exercise in executing a warrant of arrest. Inevitably, the ineffective crime prevention ad suppression affects the rights and freedom of the accused and the victim in a crime caseen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_146912.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons