Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9035
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภาวิณี เที้ยวพันธ์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-23T04:15:30Z-
dc.date.available2023-08-23T04:15:30Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9035en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของข้าราชการ กรุงเทพมหานคร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิชัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ใน 50 สำนักงานเขต ที่ไม่ใช่ระดับผู้บริหาร รวมทั้งสิ้น จำนวน 6,314 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิแล้วกำหนดขนาดตัวอย่างในแต่ละเขตด้วยการคำนวณได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 363 คน เครื่องมือที่ใชัเป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ค่าเฉลี่ยโดยใช้สถิติที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุดผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของข้าราชการ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความเต็มใจอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านความสามารถอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านความเต็มใจ ลำดับแรก คือ การมีความตั้งใจในการ ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าขององค์กรสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งอยู่ในระดับมาก และด้านความสามารถ ลำดับแรก คือ การมีความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาวัตถุประสงค์ และความสำคัญของประชาคมอาเซียน ซึ่งอยู่ในระดับมาก (2) ข้าราชการกรุงเทพมหานครที่มีเพศ ตำแหน่งงานในปัจจุบัน และสถานที่ทำงานปัจจุบันแตกต่างกันมีความ พร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนไม่แตกต่างกัน แต่ข้าราชการที่มีอายุ ระดับการศึกษาสูงสุด และประสบการณ์ การปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานครแตกต่างกัน มีความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) แนวทางการพัฒนาความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครที่สำคัญได้แก่ การจัดบุคลากรในหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครเข้ารับการ อบรม ประชุม สัมมนา ตลอดจนศึกษาดูงานองค์กร/หน่วยงานต้นแบบที่ประสบความสำเร็จเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการจัดการความพร้อมสู่อาเซียน การจัดกิจกรรม หรือการอบรม/สัมมนา การจัดสรรงบประมาณ เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ และความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนในทุกๆ ด้าน และการมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับอาเซียนโดยตรง เพื่อให้ผู้มีความเชี่ยวชาญมาเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาเซียนทำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าราชการกรุงเทพมหานคร--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectประชาคมอาเซียนth_TH
dc.titleความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของข้าราชการกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe readiness to ASEAN community of Bangkok Metropolitan administration's Civit Officialsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed : (1) to study the level of readiness to ASEAN Community of Bangkok metropolitan administration’s civil officials; (2) to compare the readiness to ASEAN Community of Bangkok metropolitan administration’s civil officials by personal factors; and (3) to study guidelines for developing the readiness to ASEAN Community of agencies in Bangkok metropolitan administration. This study was a survey research. The population was 6,314 Bangkok metropolitan administration’s civil officials in 50 district offices, non-executive level. Stratified random sampling was determined the sample size in each district by calculating the sample of 363 officials. A questionnaire was used as the research tool. Data analysis included percentage, mean, weighted mean, standard deviation, t-test, one way analysis of variance and least significant difference. The results showed that: (1) Overall level of readiness to ASEAN community of Bangkok metropolitan administration’s civil officials were at high level. Considering by aspect, it was found that the willingness was at high level while the ability was at moderate level. The willingness was intention of working to advance the ASEAN community organizations which had high level. And the ability was knowledge about the history, purpose and importance of the ASEAN Community which had high level; (2) Bangkok metropolitan administration’s civil officials with different sex, current job and workplaces had no different readiness to ASEAN community. However, Bangkok metropolitan administration’s civil officials with different age, level of education, year of working at Bangkok metropolitan administration had different readiness to ASEAN community with statistically significant at the 0.05 level; and (3) the guidelines for developing the readiness to ASEAN Community of agencies in Bangkok metropolitan administration were to attend the training and study successful organization model to enhance knowledge understanding of the management and ASEAN for develop the availability of the ASEAN community. Budgetary allocation to develop the knowledge, understanding and readiness to ASEAN in every aspect. And the agency associated with ASEAN to disseminate knowledge about ASEAN to induce same understanding.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_140819.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons