Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9044
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิระสุข สุขสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | เสาวนีย์ สุขสำราญ, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-24T03:14:02Z | - |
dc.date.available | 2023-08-24T03:14:02Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9044 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของกลุ่มทดลองก่อนและหลังจากการได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวด้วยเทคนิคระดมสมอง (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของกลุ่มทดลองที่ได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวด้วยเทคนิคระดมสมองและของกลุ่มควบคุมที่ได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวปกติในระยะหลังการทดลอง และ (3) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของกลุ่มทดลองในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4 (อุดมวิทย์สมใจ) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จังหวัดปราจีนบุรี ที่มีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์อยู่ในระดับน้อย จำนวน 30 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวด้วยเทคนิคระดมสมองเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ และ (3) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สูงกว่าของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) ระยะหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ไม่แตกต่างจากระยะติดตามผล | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.14 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา-- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแก้ปัญหา--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ปราจีนบุรี | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวด้วยเทคนิคระดมสมองเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4 (อุดมวิทย์สมใจ) จังหวัดปราจีนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of using guidance activities package Brainstorming methods for development creative problem solving ability of Phathom Suksa II Students of Thedsaban 4 (Udomwitsomjai) School in Prachinburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to compare creative problem solving abilities of the experimental group students before and after using a guidance activities package with brainstorming technique; (2) to compare creative problem solving ability of the experimental group students who used a guidance activities package with brainstorming technique with that of the control group students who used a set of conventional guidance activities; and (3) to compare creative thinking abilities of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow up period. The research sample consisted of 30 Prathom Suksa II students of Thessaban 4 (Udomwitsomjai) School in Prachin Buri province in the 2017 academic year, who had low scores in creative problem solving ability. Then, they were randomly assigned into an experimental group and a control group each of which comprised 15 students. The employed research instruments were (1) a guidance activities package with brainstorming technique; (2) a set of conventional guidance activities; and (3) a creative problem solving ability assessment scale, developed by the researcher, with .89 reliability coefficient. The employed statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were that (1) after the experiment with the use of the guidance activities package with brainstorming technique, the post-experiment problem solving ability of the experimental group students was significantly higher than their pre-experiment counterpart ability at the .01 level; (2) the post-experiment creative problem solving ability of the experimental group students who used the guidance activities package with brainstorming technique was significantly higher than the counterpart ability of the control group students who used a set of conventional guidance activities at the .01 level; and (3) no significant difference was found between creative problem solving abilities of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow up period. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิธิพัฒน์ เมฆขจร | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
155372.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License