Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9046
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์th_TH
dc.contributor.authorฐายิกา ชูสุวรรณ, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T03:26:55Z-
dc.date.available2023-08-24T03:26:55Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9046en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมขนาดกลาง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ก่อนเรียน และหลังเรียน ด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์โดยใช้แนวทางการจัดการศึกษาแบบสะเต็ม เรื่อง แสง และ (2) เปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนดังกล่าว ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยกิจกรรมการเรียน การสอนวิชาฟิสิกส์โดยใช้แนวทางการจัดการศึกษาแบบสะเต็ม เรื่อง แสง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบางไทรวิทยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 38 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม จากโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์โดยใช้แนวการจัดการศึกษาแบบสะเต็ม เรื่อง แสง แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่เรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวทางการจัดการศึกษาแบบสะเต็ม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) เจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนดังกล่าวที่เรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวทางการจัดการศึกษาแบบสะเต็ม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.8en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectฟิสิกส์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--พระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--พระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.titleผลการสอนวิชาฟิสิกส์โดยใช้แนวทางการจัดการศึกษาแบบสะเต็ม เรื่อง แสงที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeEffects of teaching Physics by STEM approach in the topic of light on science process skills and scientific attitudes of Mathayom Suksa V students of middle sized secondary schools in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare science process skills of Mathayom Suksa V students of middle sized secondary schools in Phra Nakhon Si Ayutthaya province before and after learning under learning management with the use of STEM approach in the topic of Light; and (2) to compare scientific attitudes of the students before and after learning under learning management with the use of STEM approach in the topic of Light. The research sample consisted of 38 Mathayom Suksa V students at Bang Sai Witthaya School in Phra Nakhon Si Ayutthaya province, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were learning management plans using STEM approach in the topic of Light, a scale to assess science process skills, and a scientific attitudes assessment scale. The statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were that (1) the post-learning science process skills of Mathayom Suksa V students of middle sized secondary schools in Phra Nakhon Si Ayutthaya province, who learned under the learning management with the use of STEM approach were significantly higher than their pre-learning science process skills at the .05 level; and (2) the post-learning scientific attitudes of the students who learned under the learning management with the use of STEM approach were significantly higher than their pre-learning scientific attitudes at the .05 levelen_US
dc.contributor.coadvisorดวงเดือน พินสุวรรณ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155376.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons