Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9047
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุขอรุณ วงษ์ทิม | th_TH |
dc.contributor.author | ประภาศรี ไกรนรา, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-24T03:53:03Z | - |
dc.date.available | 2023-08-24T03:53:03Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9047 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความขัดแย้งภายในครอบครัวของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการให้การปรึกษาครอบครัวแบบบูรณาการ และ 2) เปรียบเทียบความขัดแย้งภายในครอบครัวของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษาครอบครัวแบบบูรณาการ และของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นครอบครัวของนักเรียนโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน จังหวัดพังงา ที่มีความขัดแย้งภายในครอบครัว จำนวน 10 ครอบครัว รวม 30 คน ซึ่งประกอบไปด้วย พ่อ แม่ ลูก ที่ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายจากประชากร แล้วสุ่มอย่างง่ายอีกครั้งเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 5 ครอบครัว จำนวนกลุ่มละ 15 คนเท่ากัน เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการให้การปรึกษาครอบครัวแบบบูรณาการ และแบบวัดความขัดแย้งภายในครอบครัว มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .98 นักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการปรึกษาครอบครัวแบบบูรณาการ จำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที ส่วนนักเรียนกลุ่มควบคุมเข้าว่วกิจกรรมแนะแนวตามปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่ามัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลอง ที่ได้รับการปรึกษาครอบครัวแบบบูรณาการเพื่อลดความขัดแย้งภายในครอบครัวมีความขัดแย้งภายในครอบครัวลดลงกว่าก่อนการให้การปรึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) ภายหลังการได้รับการปรึกษาครอบครัวแบบบูรณาการเพื่อลดความขัดแย้งภายในครอบครัว นักเรียนกลุ่มทดลองมีความขัดแย้งภายในครอบครัวลดลงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา-- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษาครอบครัว | th_TH |
dc.subject | ความขัดแย้งระหว่างบุคคล | th_TH |
dc.subject | ครอบครัว | th_TH |
dc.title | ผลของการให้การปรึกษาครอบครัวแบบบูรณาการเพื่อลดความขัดแย้งภายในครอบครัวของนักเรียนโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน จังหวัดพังงา | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of integrated family counseling to reduce family conflict of students in Dee Buk Phang-nga Wittayayon School, Phang-nga Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare the levels of family conflict in the family of experimental group students before and after receiving the integrated family counseling; and (2) to compare the level of family conflict in the family of experimental group students who received the integrated family counseling with that in the family of control group students who participated in usual guidance activities. The research sample consisted of 30 family members (father, mother, and son) from 10 families of students in Dee Buk Phang-nga Wittayayon School, Phang-nga province. They had conflict experiences in their families. They were obtained by simple random sampling. Then, they were randomly assigned into an experimental group and a control group, with 5 families (15 family members) in each group. The experimental group received eight sessions of integrated family counseling each of which lasted for 90 minutes; while the control group participated in usual guidance activities. The employed research instruments were (1) an integrated family counseling program, and (2) an assessment form on family conflict, with reliability coefficient of .98. Data were analyzed using the median, inter-quartile range, Wilcoxon test, and Mann-Whitney test. The findings indicated that (1) the post-counseling family conflict level of the experimental group students who had received the integrated family counseling was significantly lower than their pre-counseling counterpart level at the .01 level of statistical significance; and (2) after receiving the integrated family counseling, the experimental group students’ family conflict level was significantly lower than the counterpart level of the control group students who participated in usual guidance activities at the .05 level of statistical significance. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ลัดดาวรรณ ณ ระนอง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
155377.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License