Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9051
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิระสุข สุขสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุนิสา สุขีอัตตะ, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T04:41:19Z-
dc.date.available2023-08-24T04:41:19Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9051-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปรับตัวของเยาวชนไทยที่ย้ายถิ่นติดตาม มารดามาอาศัยอยู่ ณ กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแนวปรากฏการณ์วิทยา ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ เยาวชนไทย ที่ย้ายถิ่นติดตามมารดามาอาศัย อยู่ ณ กรุงสตอกโฮลม์ ประเทศสวีเดน จำนวน 7 คน ได้โดยการคัดเลือก แบบเฉพาะเจาะจง มีเกณฑ์พิจารณา คือ (1) มีบิดาบุญธรรมเป็นชาวสวีเดน (2) มีอายุระหว่าง 11–18 ปี (3) เกิดและเติบโตในประเทศไทยและย้ายมาอาศัยอยู่ประเทศสวีเดน เกินกว่า 1 ปี (4) สามารถสื่อสารภาษาไทย ได้ และ (5) ยินดีเข้าร่วมวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แนวคำถามสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่ง โครงสร้าง (2) แบบบันทึกภาคสนาม (3) แบบบันทึกการสังเกต และ (4) เครื่องบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาและสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัย ปรากฏว่า ประสบการณ์การปรับตัวของเยาวชนไทยที่ย้ายถิ่นติดตามมารดามา อาศัยอยู่ ณ กรุงสตอกโฮลม์ ประเทศสวีเดน พบ 4 ประเด็นหลักดังนี้ (1) ภาวะจิตใจก่อนย้ายถิ่น แบ่งเป็น ประเด็นรอง 3 ประเด็น คือ (1.1) ไม่อยากจากเมืองไทย (1.2) ห่วงใยคนข้างหลัง และ (1.3) เรื่องราว เกี่ยวกับอนาคตของตนเอง (2) อุปสรรคที่พบเจอ แบ่งเป็นประเด็นรอง 9 ประเด็น คือ (2.1) คิดถึงเมืองไทย ที่จากมา (2.2) รู้สึกด้อยค่าในสายตาคนอื่น (2.3) การมีปัญหาด้านภาษาและการสื่อสาร (2.4) ครอบครัวคือ คนแปลกหน้า (2.5) การไม่คุ้นเคยกับสังคม ผู้คนและวัฒนธรรม (2.6) ท้อแท้สิ้นหวัง กับ การเรียนที่ยาก (2.7) ขาดเพื่อนพึ่งพายามทุกข์ใจ (2.8) อาหารที่ไม่คุ้นลิ้น และ (2.9) ไม่คุ้นชินกับภูมิอากาศ (3) การปรับตัว เข้ากับสังคมใหม่แบ่งเป็นประเด็นรอง 5 ประเด็น คือ (3.1) เปิดใจพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง (3.2) เคารพ และสร้างคุณค่าให้ตนเอง (3.3) การมีทักษะการใช้ชีวิตในสังคมใหม่ (3.4) การมีกิจกรรมยามว่างเพื่อคลาย ทุกข์และหารายได้เสริม และ (3.5) การได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ และ (4) เป้าหมายของ ชีวิต แบ่งเป็นประเด็นรอง 3 ประเด็น คือ (4.1) การศึกษาเป็นเรื่องสำคัญ (4.2) เอื้อมมือคว้าปริญญา และ (4.3) กลับมาพัฒนาบ้านเกิดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา) ในวัยรุ่นth_TH
dc.subjectการปรับตัวทางสังคมth_TH
dc.subjectการย้ายถิ่นth_TH
dc.titleประสบการณ์การปรับตัวของเยาวชนไทยที่ย้ายถิ่นติดตามมารดามาอาศัยอยู่ ณ กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดนth_TH
dc.title.alternativeAdaptation experience of Thai Youths who immigrated with their mothers to live in Stockholm Swedenth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the adaptation experience of Thai youths who immigrated with their mothers to live in Stockholm, Sweden. This study was a qualitative research based on the phenomenological concept. The key informants were seven Thai youths who immigrated with their mothers to live in Stockholm, Sweden. They were purposively selected based on the following criteria: (1) having a Swedish stepfather; (2) being 11 – 18 years old; (3) being born and raised in Thailand and having immigrated with their mothers to live in Sweden for more than one year; (4) being able to communicate in Thai language; and (5) willing to participate in this research. The employed research instruments were (1) a semi-structure in-depth interview form, (2) a field note taking form, (3) an observation form, and (4) a tape recorder. Research data were analyze with content analysis and forming inductive conclusions. The research findings revealed that 4 main themes were found for the adaptation experience of Thai youths which were: ( 1) Distressed before migration which included 3 sub-themes: ( 1.1) not wanting to leave Thailand; (1.2) missing and caring for those who were left behind; (1.3) being anxious about the future; (2) the confronted obstacles which included 9 sub-themes: (2.1) longing to be back in Thailand; (2.2) feeling inferior in the eyes of the locals; (2.3) having problems in using language for communication; (2.4) the family consisting of strangers; (2.5) being unfamiliar with the society, people, and culture; (2.6) being depressed and hopeless with the difficult classroom learning; (2.7) being lonely and having nobody to confide to and rely upon; (2.8) Swedish food being not tasty; and (2.9) being not accustomed to the climate; (3) Adaptation to the new society which included 5 sub-themes: (3.1) opening one’s mind for adaptation to the changes; (3.2) being respectful and creating values for oneself; (3.3) having life skills for living in the new society; (3.4) having leisure time activities for recreation and extra incomes; and (3.5) receiving helps from work agencies; and (4) setting life goals which included 3 sub–themes: (4.1) education being important; (4.2) aspiring for educational degrees; and (4.3) coming back to develop one’s birthplaceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155379.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons