Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9053
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | จรรยา วรรัตน์, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-24T05:43:24Z | - |
dc.date.available | 2023-08-24T05:43:24Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9053 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559. | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้ เว็บเควสท์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวันกับเกณฑ์ร้อยละ 80 และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์1ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้เว็บเควสท์ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 18 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนชุมชนวัดแสนตุ้ง จังหวัดตราด ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้เว็บเควสท์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และ (3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้เว็บเควสท์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 83.82 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ.05 และ (2) ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้เว็บเควสท์ เรื่องสารในชีวิตประจำวัน สูงกว่าความสามารถดังกล่าวก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | ความคิดและการคิด--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ตราด | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ตราด | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้เว็บเควสท์เรื่องสารในชีวิตประจำวัน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง จังหวัดตราด | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using problem-based learning management together with web quest in the topic of substances in daily life on science learning achievement and analytical thinking ability of Prathom Suksa VI students of middle size schools in Trat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to compare learning achievement on the topic of Substances in Daily Life of Prathom Suksa VI students, who learned under the problem-based learning management together with web quest, with the 80 percent of full score criterion; and (2) to compare the analytical thinking abilities of the students before and after learning under the problem-based learning management together with web quest. The research sample consisted of 18 Prathom Suksa VI students of Chumchon Wat Saen Tung School in Trat province during the first semester of the 2017 academic year, obtained by multi-stage random sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans using problem-based learning management together with web quest on the topic of Substances in Daily Life; (2) a science achievement test on the topic of Substances in Daily Life; and (3) an analytical thinking ability test. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows: (1) the post-learning science learning achievement mean score on the topic of Substances in Daily Life of the students, who learned under the problem-based learning management together with web quest, was 83.82 which was significantly higher than the 80 percent of full score criterion at the .05 level of statistical significance; and (2) the post-learning analytical thinking ability of the students, who learned under the problem-based learning management together with web quest on the topic of Substances in Daily Life, was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ดวงเดือน พินสุวรรณ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
155382.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License