Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา ผลประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนุชนาถ สุวรรณ์, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T03:47:39Z-
dc.date.available2022-08-23T03:47:39Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/905-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์บรรยากาศองค์การในการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาลเซ็นทรัลเมโมเรียล และ (2) เปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้ในบรรยากาศองค์การตามลักษณะทางประชากรด้าน อายุ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ตำแหน่งปัจจุบันในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและขนาดองค์กร การเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเซ็นทรัลเมโมเรียล 2 สาขา จํานวน 165 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามบรรยากาศองค์การที่ปรับจากแบบสอบถามตามแนวคิดของลิทวินและสตริงเจอร์ (Litwin & Stringer, 1968) มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของบรรยากาศ องค์การ โดยใช้การทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวรางวัลและการลงโทษ ผลการวิจัยพบว่า (1) บรรยากาศองค์การโดยรวมของโรงพยาบาลเซ็นทรัลเมโมเรียลอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีระดับบรรยากาศองค์การอยู่ในระดับดี คือ ด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานและความคาดหวัง ด้านความเสี่ยงในงาน ด้านความอบอุ่น ด้านความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและความจงรักภักดีของกลุ่ม ด้านการสนับสนุนด้านโครงสร้างองค์การและด้านความรับผิดชอบของบุคลากร ส่วนที่เหลืออีก 2 ด้าน คือ ด้านความขัดแย้งและความอดทนต่อความขัดแย้ง และด้านการให้รางวัลและการลงโทษ มีระดับบรรยากาศองค์การอยู่ในระดับพอใช้ (2) เมื่อเปรียบเทียบบรรยากาศองค์การจําแนกตามลักษณะทางประชากร พบว่า บุคลากรที่มีอายุแตกต่างกัน และตำแหน่งในการปฏิบัติงานต่างกันมีการรับรู้บรรยากาศองค์การในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนตัวแปรตัวอื่นๆ ไม่พบความแตกต่างในการรับรู้บรรยากาศองค์การจากผลการวิจัยที่ได้ มีข้อเสนอแนะว่า ผู้บริหาร หรือผู้บังคับบัญชาที่มีส่วนเกี่ยวข้องควรเสริมสร้างให้เกิดบรรยากาศองค์การในด้านความขัดแย้งและความอดทนต่อความขัดแย้งและด้านการให้รางวัลและการลงโทษth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.287-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเซ็นทรัลเมโมเรียลth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การบริหารth_TH
dc.titleบรรยากาศองค์การในโรงพยาบาลเซ็นทรัล เมโมเรียลth_TH
dc.title.alternativeOrganizational climate of Central Memorial Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.287-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this analytic research were; (1) to analysis organizational climate of Central Memorial Hospital, and (2) to compare the difference in the perception of organizational climate regarding personnel characteristics. The study population consisted of 165 respondents working in two branches of Central Memorial Hospital. ไ he research instrument was a questionnaire with a reliability coefficient of 0.93 according to Litwin and Stringer (1968). Data was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, independent t-test and One Way Analysis of Variance. The results were as follows: (1) the overall organizational climate of Central Memorial Hospital was at a good level. Seven parts of organizational climate as standard performance, risk and risk taking, warmth, organization identity and group royalty, support, structure, and individual responsibility were at good level. The rest two parts as conflict and tolerance for conflict, and reward and punishment were at fair level. (2) There were significant difference at 0.05 statistical level in the perception of organizational climate regarding the personal characteristics as age and positions at work. Other personal characteristics were not found to mark the difference in the perception of organizational climate. The study results suggest that the hospital director or superior should reinforce organizational climate in two parts; conflict and tolerance part and reward and punishment for the conflict parten_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
96461.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons