Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9060
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพอค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพชรมัณฑนา โพธิ์แก้ว, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T07:03:49Z-
dc.date.available2023-08-24T07:03:49Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9060en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดและวิวัฒนาการในการคุ้มครองสิทธิของเด็กของต่างประเทศและประเทศไทย (2) ศึกษาหลักเกณฑ์ของกฎหมายที่เกี่ยวกับการแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดซํ้า (3) ศึกษาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไข ปัญหาเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดซํ้าภายหลังการเข้าสู่มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาค้นคว้าและเก็บ รวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ วารสาร วิทยานิพนธ์ ข้อมูลทางสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ผลการศึกษาพบว่า (1) ประเทศไทยและต่างประเทศมีแนวคิดเป็นไปในแนวทางเดียวกัน คือ มุ่งเน้นการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและสวัสดิภาพของเด็กและเยาวชนเป็นสำคัญ (2) หลักเกณฑ์การดำเนินกระบวนพิจารณาคดีที่เกี่ยวกับเด็กและเยาวชนพิเศษแตกต่างจากคดีธรรมดาทั่วไป มีการแก้ไขเพิ่มเติมทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟูไว้ในพระราชบัญญัติศาล เยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ .ศ. 2553 หมวดที่ 7 มาตรา 86 ถึง มาตรา 94 (3) ในระหว่างปี พ.ศ. 2552-2557 มีเด็กกระทำความผิดรวมทั้งสิ้นประมาณ 232,496 คน เด็กที่กระทำผิดซํ้ามีจำนวนประมาณ 36,490 คน ส่วนใหญ่กระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์และยาเสพติดให้โทษ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ควรมีมาตรการและบทลงโทษที่ทำให้เด็กและเยาวชนที่ถุกลงโทษ มีความเกรงกลัว เข็ดหลาบ ไม่กล้ากระทำผิดซํ้าขื้นอีก ควรมีการคัดกรองเด็กที่มีพฤติกรรมที่เห็นว่า สามารถกลับตนเป็นคนดีได้ และควรมีหลักเกณฑ์ที่สามารถกำหนดขอบเขตของเด็กที่กระทำ ความผิดให้เป็นบรรทัดฐานในการควบคุมจำนวนเด็กหรือเยาวชนซึ่งอยู่ในวัยเสี่ยงต่อการกระทำ ความผิดซํ้า ไม่ให้กลับไปกระทำความผิดอีกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการกระทำผิดซ้ำth_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชนth_TH
dc.titleปัญหาการบังคับใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญากับเด็กที่กระทำความผิดซ้ำth_TH
dc.title.alternativeEnforcement problems of special measure in lieu of criminal proceedings to the recidivism juvenileen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) the concepts and evolution of the right protection of juvenile in foreign countries and Thailand ; (2) the criteria of law in restore the recidivism juvenile ; and (3) to present recommendations of restore the recidivism juvenile after Special Measure was applied. This Independent Study was a qualitative research. Data collection is on the basis of Technical documents, Journals, Thesis and Information Media Information. The results of this study were (1) Thailand and foreign countries emphasized the protection of the juvenile’s rights liberties and safety ; (2) the criteria in the process of judiciary about juvenile were difference from other normal cases. There were added penalty theory for restore the recidivism juvenile in The Juvenile and Family Court and Its Procedures Act, B.E. 2553 (2010) in chapter 1 section 86 to section 94 ; and (3) There were 232,496 recidivism juvenile among the year of 2009 –2014 and there were 36,490 recidivism juvenile. The most recidivism juvenile did the crime against property and drugs. The recommendations from this research were it should had the special measure and penalty that could made the juvenile would not recidivism and should screen the juvenile who can turn over a new leaf and should had specialize regen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_149643.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons