Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9063
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorโนเรีย บินหะยีนิยิ, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T07:39:23Z-
dc.date.available2023-08-24T07:39:23Z-
dc.date.issued2555en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9063en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลประชากรที่ศึกษา คือ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานย่อยภายใต้การกำกับการบริหารของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จำนวน 182 คน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างคำนวณโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ ได้จำนวน 130 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงที่พัฒนขึ้นตามกรอบแนวคิดของ Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) แบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ก่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทคสอบรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีความคิดเห็นว่ามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มีการบริหารความเสี่ยงโดยรวมและทุกค้านอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นด้านการระบุเป้าประสงค์และกำหนดวัตถุประสงค์ โดยให้ความสำคัญกับความเสี่ยงด้านการดำเนินงานและด้านกลยุทธ์ ในระดับมาก (2) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจำแนกตาม เพศ ตำแหน่งงาน ตำแหน่งในคณะกรรมการ หน่วยงานที่สังกัด และการได้รับการอบรมเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงโดยรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้น ผู้มีประสบการณ์ในการทำงานที่แตกต่งกันมีความคิดเห็นแตกต่งกันทั้งโดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านการประเมินความเสี่ยง การประเมินมาตรการควบคุม และการติดตามและทบทวน นอกจากนี้ผู้มีตำแหน่งในคณะกรรมการที่ต่างกันมีความเห็นต่างกันในด้านการประเมินความเสี่ยง การประเมินมาตรการควบคุม และการบริหารจัดการความเสี่ยง ส่วนผู้ที่สังกัดหน่วยงานที่ต่างกันมีความคิดเห็นต่างกันในด้านการติดตามและทบทวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 05.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์--การบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.titleการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์th_TH
dc.title.alternativeRisk management of Princess of Naradhiwas Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study opinions of the risk management committee concerning risk management of Princess of Naradhiwas University and (2) to compare opinions of the risk management committee to risk management of Princess of Naradhiwas University, that analyzed by personal factors. The population of this study were 182 risk management committee members under the Princess of Naradhiwas University management. 130 sample were determined by Yamane’ formula and used statified random sampling. Tool was questionnaire concerning risk management framework developed by committee of sponsoring organizations of the treadway commission (COSO) with reliability 0.97, Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one – way ANOVA and scheffe’s method. The results of this study showed that (1) The risk management committee had opinion that Princess of Naradhiwas University had managed all risk and on all sides were at medium level, except for the goals and the objectives found that focus on the operational and the strategic risks at high level. (2) The risk management committee classified by sex, work position, position in the risk management committee under supervision organization and received training on risk management found that all risk management were not different, except those with experience in working, with different opinions and different aspect, including the risk assessment, evaluation of control measures and monitoring and review. In addition, there are different positions on the committee have differing opinions in the field of risk assessment, evaluation of control measures and management of risk. Those under different agencies have different ideas on the monitoring and review of statistical significance at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_135748.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons