Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญทิพย์ เอี๋ยวสกุล, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T07:53:46Z-
dc.date.available2023-08-24T07:53:46Z-
dc.date.issued2555en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9066en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารทะเลเพื่อส่งออกในจังหวัดระนอง และ (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารทะเลเพื่อ ส่งออกในจังหวัดระนองจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ประชากรคือพนักงานสัญชาติไทยที่ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหาร ทะเลเพื่อส่งออกในจังหวัดระนองจำนวน 1,567 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างสูตรของทาโร่ยามาเน่ได้ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 318 คนสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วนของแต่ละโรงงานอุตสาหกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบในรายคู่ด้วยวิธี ผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม ผลิตอาหารทะเลเพื่อส่งออกในจังหวัดระนองในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางเรียงลำดับตาม ค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการบูรณาการทางสังคมหรือการทำงานร่วมกันรองลงมาอยู่ใน ระดับปานกลาง คือ ด้านสภาพการทำงานทีมีความปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ ด้านโอกาสในการใช้และการพัฒนาศักยภาพของบุคคล ด้านการได้รับความก้าวหน้าและความมั่นคงในการทำงาน ด้านประชาธิปไตยในองค์กร ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานด้านลักษณะงานที่เกี่ยวข้อง และสัมพันธ์กับสังคมโดยตรงและด้านการได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมตามลำดับ (2) พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารทะเลเพื่อส่งออกในจังหวัดระนองที่มีปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเงินเดือนและตำแหน่งงานที่ต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ .05 ส่วนที่เหลือคือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงานที่ต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานที่ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย--ระนองth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารทะเลเพื่อส่งออกในจังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of employees in seafood manufacturing for export industry in Ranong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study quality of work life of employees in seafood manufacturing for export industry in Ranong province; and (2)to compare quality of work life of employees in seafood manufacturing for export industry by personal characteristics. The sample consisted of 318 employees of the population of 1,567 Thai employees in seafood manufacturing for export industry in Ranong province. The researcher utilized the sample proportional stratified random sampling to collect data with questionnaire. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and lest significant difference. The research results indicated that: (1) Overall quality of work life of employees in seafood manufacturing for export industry in Ranong province was at the moderate level. When considering in each aspect, it showed that the quality of work life ranking from the highest to the lowest mean were as follows: social integration or collaborating work,safe and healthy working condition, opportunity to use and develop human capacities, opportunity for continued growth and security on job, democracy in organization, balance of work life and family life, social relevance of work life and adequate and fair compensation; and (2) Comparing the quality of work life of employees by personal characteristics, it found that employees with different gender, age, educational level, and work experience had no different quality of work life, but the employees with different of salaries and work position had significant difference at the statistical level .05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_134657.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons