Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9072
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปัญญา มูสิกะโสภณ, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-24T08:25:24Z-
dc.date.available2023-08-24T08:25:24Z-
dc.date.issued2555en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9072en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความต้องการในการฝึกอบรมของพนักงาน บริษัท อะเดียเวนซา นิวเวิลด์ ออโต้ไลเนอร์ จำกัด (2) เปรียบเทียบความต้องการในการฝึกอบรมของพนักงานบริษัท อะเดียเวนซา นิวเวิลด์ ออโต้ไลเนอร์ จำกัด จำแนกตามตำแหน่งและแผนกงาน และ (3) ศึกษาความต้องการในการฝึกอบรมของผู้บริหารบริษัท อะเดียเวนซา นิวเวิลด์ ออโต้ไลเนอร์ จำกัด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรประกอบด้วยบุคลากร2 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกเป็นพนักงานรายวัน รายเดือน และพนักงานสำนักงานจำนวน 68 คน ส่วนกลุ่มที่ 2 เป็น ผู้บริหารระดับกลาง และระดับต้น จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สำหรับกลุ่มแรก และแบบสัมภาษณ์สำหรับกลุ่มที่2 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ความต้องการในการฝึกอบรมของพนักงานในภาพรวมอยู่ใน ระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าพนักงานมีความต้องการฝึกอบรมมากที่สุดในด้านความรู้ รองลงมาด้านทักษะ และด้านทัศนคติตามลำดับ ด้านความรู้มากที่สุดในเรื่องความปลอดภัยและการป้องกันอัคคีภัยในการทำงานด้านทักษะมากที่สุดในเรื่องเทคนิคการประสานงานด้านทัศนคติมาก ที่สุดในเรื่องทัศนคติที่ดีต่อเพื่อนร่วมงานมีผลต่อการทำงานเป็นทีม (2) เปรียบเทียบความต้องการ ในการฝึกอบรมของพนักงานจำแนกตามตำแหน่งและแผนกงานพบว่า พนักงานรายวันมีความ ต้องการฝึกอบรมมากกว่าพนักงานรายเดือนและพนักงานสำนักงานทั้งในด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านทัศนคติส่วนพนักงานแผนกงานผลิตมีความต้องการฝึกอบรมมากกว่าพนักงานแผนกงาน สนับสนุนและพนักงานแผนกงานการตลาดและวิศวกรรมทั้งในด้านความรู้ ด้านทักษะและด้านทัศนคติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ความต้องการในการฝึกกอบรมของผู้บริหาร พบว่า ผู้บริหารระดับต้นมีความต้องการฝึกอบรมในเรื่องการวางแผน ส่วนผู้บริหารระดับกลางมี ความต้องการฝึกอบรมในเรื่องการบริหารงานแบบลีนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัท อะเดียเวนซานิวเวิลด์ออโต้ไลเนอร์ จำกัด--พนักงานth_TH
dc.subjectพนักงานบริษัท--การฝึกอบรมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความต้องการฝึกอบรมของบุคลากรบริษัท อะเดียเวนซา นิวเวิลด์ ออโต้ ไลเนอร์ จำกัดth_TH
dc.title.alternativeTraining needs of personnel of adyawinsa Newworld Auto Liner Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study’s objectives were: (1) to study training needs level of employees of Adyawinsa Newworld Auto Liner Company Limited; (2) to compare training needs of employees of Adyawinsa Newworld Auto Liner Company Limited by position and department; and (3) to study training needs of administrators of Adyawinsa Newworld Auto Liner Company Limited. This study was a survey research. The population consisted of two groups: the first group was 68 employees who were daily employees, salary employees and staff employees; and the second group was 16 administrators in lower and middle management. The research tools were questionaire and interview form. The data were analyzed by frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and content analysis. The results indicated that:(1) overall training needs of employees were at the high lavel. Considering by aspect, the knowledge aspect was at the high level followed by skill and attitude aspect, respectively. The first on knowledge aspect was security and fire protection in the workplace, on skill aspect was cooperation technique and on attitude aspect was positive attitude on colleagues affecting the team work; (2) the comparison of training needs of employees by position and department found that: daily employees had training needs more than monthly and staff employees in knowledge, skill and attitude. The production employees had training needs more than the support, marketing and engineering employees in knowledge, skill and attitude with statistical significance at .05 level ; and (3) the training needs of administrators in lower management was planning and administrators in middle management was lean managementen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_133778.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons