Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสําเรียง เมฆเกรียงไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนนทวิภา วงษ์สกุลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-25T02:47:07Z-
dc.date.available2023-08-25T02:47:07Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9094en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง ปัญหาอำนาจหน้าที่ในการบังคับคดีตามสัญญาประกันในคดีอาญา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความหมาย แนวคิดทฤษฎี มาตรฐานสากลและอำนาจในการปล่อยตัวชั่วคราว และการบังคับคดีตามสัญญาประกันทั้งในและต่างประเทศ (2) ศึกษาหลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไขและดุลพินิจในการงดหรือลดค่าปรับผู้ประกัน ระยะเวลาบังคับคดีและผลกระทบในการบังคับคดี ผู้ประกัน (3) ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการบังคับคดีตามหลักกฎหมายเดิม และตามหลักกฎหมายที่แก้ไขใหม่ (4) ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาการบังคับคดีผู้ประกันตามสัญญาประกันในคดีอาญา และ (5) ศึกษาหาข้อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุง แก้ไขปัญหาการบังคับคดีผู้ประกัน พัฒนาระบบการบังคับคดีผู้ประกัน ในคดีอาญาให้มีความชัดเจนและบังคับใช้ไค้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาข้อมูลในทางปฏิบัติและข้อบัญญัติของกฎหมายในทางเอกสาร ทั้งในประเทศและต่างประเทศในรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาถึงบทบาทอำนาจ หน้าที่ของผู้ดำเนินการบังคับคดีกับผู้ประกันทั้งในอดีตในส่วนอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการบังคับคดี ก่อนที่จะมีการแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 119 (ฉบับที่ 22) พ.ศ.2547 ในช่วงที่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 119 (ฉบับที่ 22)มีผลบังคับใช้มาตลอดจนเมื่อมีการ แก้ไขเพึ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 119 (ฉบับที่ 33) พ.ศ.2558 (ปัจจุบัน) บทบาทและอำนาจหน้าที่ในการบังคับคดีของพนักงานอัยการตามพระราชบัญญัติพนักงานอัยการ พ.ศ. 2498 มาตรา 11 (8)และตามพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ.2553 มาตรา14(8) เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายในเรื่องดังกล่าวต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ยังคงมีปัญหาไม่ความชัดเจนในเรื่องบทบาทอำนาจหน้าที่ และภาระหน้าที่ของผู้ดำเนินการบังคับคดีทั้งในอดีตและปัจจุบัน ตลอดจนปัญหาในการตีความตัวบทกฎหมาย อันนำไปสู่การปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมและขาดความชัดเจน จึงเห็นควรให้มีการแก้ไขกฎหมายที่กำหนดอำนาจหน้าที่และภาระหน้าที่ของผู้ดำเนินการบังคับคดีให้มีความเหมาะสมและมีความชัดเจนมาก ยี่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการบังคับคดีth_TH
dc.subjectค้ำประกันth_TH
dc.subjectประกันตัวth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth_TH
dc.titleปัญหาอำนาจหน้าที่ในการบังคับคดีตามสัญญาประกันในคดีอาญาth_TH
dc.title.alternativeProblems with powers and responsibilities in the enforcement of bail contracts in criminal casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the meaning, concepts, theories, international standards and powers involved with the temporary release of suspects and the enforcement of bail contracts in Thailand and other countries; (2) principles, methods, conditions and the use of discretion to waive or reduce the amount of bail or length of time of release, and the impact of enforcement of bail contracts; (3) differences between enforcement of bail contracts under the original law and the revised law; (4) problems that have occurred with the enforcement of bail contracts in criminal cases; and (5) recommendations to solve problems and improve the enforcement of bail contracts so that the law is clearer and more efficient in the future. This research was based on the study of data from law practice and law documents in Thailand and other countries, which was done in the form of qualitative research, to study the roles, powers and responsibilities of officials who enforce bail agreements, both in the past, before the amendment of section 119 of the Criminal Procedure Code (no. 22) B.E. 2547, and also after the amendment came into effect, including the time period after there was further amendment to section 119 of the Criminal Procedure Code (no. 33) B.E. 2558 (the current version). In addition, the researcher considered the role and power to enforce judgments by prosecutors according to the Public Prosecutors Act B.E. 2498 section 11 (8) and the Public Prosecutors Organization and Public Prosecutors Act B.E. 2553 section 14 (8) with a view to suggesting improvements to the above-mentioned acts. The results showed that in the past and at present there has been and still is a lack of clarity in the laws concerning the role, power and responsibility of officials who enforce bail contracts. There still remain problems with interpretation of the laws which leads to malpractice, unsuitable results and lack of clarity in application of the laws. The author concluded that the laws regulating the powers, responsibilities and duties of the relevant officials should be amended for greater suitability and clarity.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_153531.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons