Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถํ้าth_TH
dc.contributor.authorธีรติ ภาคภูมิ, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-25T06:17:30Z-
dc.date.available2023-08-25T06:17:30Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9098en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี และหลักเกณฑ์ของกฎหมายเกี่ยวกับการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาต่อเด็กและเยาวชน เพื่อนำม วิเคราะห์ปัญหา เพื่อหาแนวทางและการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมต่อไป การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร ประกอบด้วยเอกสารที่เกี่ยวข้องทางวิชาการ ตำรา บทความ รายงานวิชาการต่างๆ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นตัวบทกฎหมายของประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อนำมาวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำไปสู่ผลการวิจัย ผลจากการศึกษาพบว่า มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาต่อเด็กและเยาวชน ที่นำมาใช้สำหรับเด็กและเยาวชนหลังฟ้องคดีนั้นยังมีข้อบกพร่องบางประการ กล่าวคือ ยังปรากฏ ว่ามีสถิติการกระทำความผิดซ้ำของเด็กที่กระทำความผิดและได้รับการพิจารณา ให้นำมาตรการพิเศษมาใช้หลังฟ้องคดี โดยเด็กและเยาวชนไม่สำนึกในการกระทำความผิด แต่มุ่งหวังเพื่อจะไม่ให้ ลูกศาลพิจารณาพิพากษาลงโทษตามกระบวนการพิจารณาคดีอาญานั้น เห็นควรให้มีการแก้ไข ปรับปรุงตัวบทกฎหมาย โดยเสนอให้เพิ่มหลักเกณฑ์ในตัวบทกฎหมายให้ต้องใช้ชุมชนหรือ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องในการรวบรวมข้อเท็จจริงเพื่อเสนอต่อศาลประกอบการพิจารณาอีกทั้งการกำหนดอัตราโทษในการนำมาตรการพิเศษมาใช้นั้นไม่เหมาะสม เห็นควรเสนอแก้ไขโดยเสนอเปลี่ยนเป็นกำหนดเป็นฐานความผิดตามกฎหมายที่มีโทษทางอาญาไว้ให้ชัดเจนว่าฐานความผิดฐาน ใดควรนำมาตรการพิเศษมาใช้บังกับได้หรือไม่ และส่วนของการใช้ดุลพินิจของศาลนั้น เห็นควรให้มีการแก้ไขปรับปรุงส่วนนี้ โดยการให้มีระบบการคัดสรรผู้พิพากษาที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษในด้านกฎหมายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนและมีความละเอียดอ่อนและความเข้าใจในเรื่อง ครอบครัวและพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนเป็นหลักในการคัดสรรเพื่อดำรงตำแหน่งในศาลเยาวชนและครอบครัวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเยาวชนผู้กระทำความผิดอาญาth_TH
dc.subjectความผิดในคดีเด็กและเยาวชน--ไทยth_TH
dc.subjectเด็ก--คดีอาญา--ไทยth_TH
dc.subjectเยาวชน--คดีอาญา--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาต่อเด็กและเยาวชนth_TH
dc.title.alternativeSpecial measures in lieu of criminal case action for the children and the minorsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the independent study is to study the concepts, theories, and rules relating to the special measures in lieu of criminal case action for the children and the minors in order to analyze the problems to seek for the guidelines revising the relating provisions of law into the properness.This independent study is the qualitative research by means of the documentary research and go through the research from the documents, consisting of the academic documents, textbooks, the articles, the research reports, the academic researches, the electronic media and the relevant provisions of law in order to analyze and synthesize the data. The research found that after adopting the special measures in lieu of criminal case action to the children and the minors, there still be the children and minors recidivism and be judged by applying the special measures after the prosecution. The children and the minors didn’t sincerely realize for his/her own offence. The author suggest revising the provisions by adding the rules in the provision which stipulate the community or the state agency relating to gather the facts submitting to the court for the adjudicating. Moreover, the punishment in which the special measures apply in the case is not appropriate. The author suggests amending the offence in accordance with the criminal law declaring which offences shall adopting the special measures. The discretion by the court, the author suggests revising it by formulating the special expert judges’ selection system in the field of the law governing the children and the comprehension in the family and the children and the minors’ behavior matter for the judges in the Juvenile and Family court.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_154918.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons