Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
dc.contributor.authorนรเสฏฐ์ ไหล่จิตรภาชัยกรth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-25T07:10:05Z-
dc.date.available2023-08-25T07:10:05Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9107en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ คดีอาญาของผู้ต้องหาชั้นสอบสวนในการสอบปากคำผู้ต้องหา เหยื่ออาชญากรรมคดีอาญา เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติของเจ้าพนักงานสอบสวนอย่างถูกต้อง ตรวจสอบได้ ไม่กระทบสิทธิและเสรีภาพของบุคคล และวิเคราะห์ปัญหาพร้อมกับเสนอแนะแนวทางการสอบสวนในคดีอาญา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสาร โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล จากเอกสารที่เป็นตัวบทกฎหมาย ตำราทางวิชาการ คำพิพากษาของศาลฎีกาต่างๆ งานวิจัย บทความ วารสาร แนวความคิดเห็นของนักกฎหมาย และผลงานทางวิชาการอื่นๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า อำนาจในการสอบสวนคดีอาญา เป็นอำนาจที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง มีผลกระทบถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน พนักงานตำรวจเป็นหน่วยงานเดียวที่มีสิทธิ์เพียงลำพัง ในการรับรู้ เห็นพยานหลักฐาน และมีอิสระในการรวบรวมพยานหลักฐานโดยปราศจากการควบคุม และการตรวจสอบอย่างใกล้ชิด เป็นอันตรายต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน และอาจทำลายกระบวนการยุติธรรมในชั้นศาลได้ในที่สุด ดังนั้นผู้ศึกษาเสนอให้นำแนวทางของประเทศต่างๆ ซึ่งได้พยายามที่จะควบคุมการใช้อำนาจการสอบสวนของตำรวจ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่น ในชั้นสอบสวนของพนักงานตำรวจโดยต้องมีการบันทึกภาพและเสียงไว้เป็นพยานหลักฐาน พร้อมนำแนวทางกฎหมายของต่างประเทศมาปรับปรุงแก้ไขกฎหมายของประเทศไทยว่าการสอบสวน คดีอาญาคับผู้ต้องหา จะดำเนินการอย่างถูกต้อง ได้ข้อเท็จจริงที่ชัดเจนและเป็นธรรมแก่ผู้ต้องหา หรือจำเลยได้มากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสิทธิมนุษยชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleกระบวนการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในคดีอาญา : ศึกษาสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.title.alternativeProtection of rights and liberty in criminal case: the study of human rights in process of judgementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were to study the protection of rights and liberty in criminal case for accused in interrogation of offender and victim of the crime, to find out principles and practices of interrogating officer that was legal, verifiable, and did not affect to right of liberty of people, to analyse the problem and suggest criminal investigation guideline. This independent study was a quality study using documentary research method by analyzing information from legal documents, textbooks, judgments of the Supreme Court, researches, articles, journals, opinions of lawyers, and other academic works in both local and international. The result indicated that jurisdictional investigation in the criminal case was the paramount authority that affected liberty and right of people. The police officer was the only agent who had sole rights to recognize, see and freely collect evidence without any controls and scrutiny. This was detrimental to the liberty and rights of people, and finally, the judicial process could be ruined. The author suggested that the various models from many countries, such as US, England, and Japan, that have attempted to control the use of jurisdictional investigation by the police officer should be adopted. In the investigation, police officers must record their pictures and voices as evidence. Moreover, the Law of Thailand shall be amended in accordance with the Law of the foreign country which indicated that the criminal investigation of the accused should proceed adequately, obtain the facts that are clear and fair to the accused or the defendant as much as possible.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_156610.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons