กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9109
ชื่อเรื่อง: ความรับผิดทางอาญาของเจ้าหน้าที่รัฐ : ศึกษากรณีจงใจไม่ยื่น และจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สินอันเป็นเท็จตามกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542
ชื่อเรื่องอื่นๆ: State official’ s criminal liability : study of fails to submit an account showing and submit an account showing with false in organic act on counter corruption B.E. 2542 (1999)
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษา
เดชบดินทร์ นานันท์, 2524- ผู้แต่ง.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี
ข้าราชการ--การแสดงทรัพย์สิน
การเปิดเผยข้อมูล
การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม
วันที่เผยแพร่: 2560
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการกำหนดความรับผิดทางอาญา ในกระบวนการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อศึกษาถึงมาตรการทางกฎหมายที่ใช้กับการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐ โดยเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของระบบการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐในประเทศไทย เพื่อนำผลการศึกษา มาเปรียบเทียบ และวิเคราะห์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปและเสนอแนะเกี่ยวกับมาตรการการตรวจสอบบญชีแสดงรายการทรัพยสิน และหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐในประเทศไทยได้ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิธีวิจัยเอกสาร โดยศึกษาจากเอกสาร ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นตัวบทกฎหมาย ตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ งานวิจัย และข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทั้งของประเทศไทย และของต่างประเทศ ผลการศึกษา พบว่า การกำหนดความผิดกรณีจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และ หนี้สินและเอกสารประกอบภายในระยะเวลาที่กำหนด กับกรณีจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ ปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ ไว้ในบทบัญญัติ มาตราเดียวก่อให้เกิดปัญหาในการตรวจสอบ และกรณีการกระทำจงใจในแต่ละกรณีไม่ควรที่จะใช้ แค่เจตนาธรรมดาทั้งหมดจึงเห็นควรที่จะต้องแก้ไขพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ให้เหมาะสมยี่งขี้น
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9109
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Law-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_156613.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.04 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons