Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปรีชา ศิริมา, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-25T07:41:00Z-
dc.date.available2023-08-25T07:41:00Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9112en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันองค์การ ของครูโรงเรียนไผทอุดมศึกษา (2) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันองค์การจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะทางการบริหาร และประสบการณ์จากการทำงานของครูโรงเรียน ไผทอุดมศึกษา (3) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างระดับความผูกพันองค์การของครู โรงเรียนไผทอุดมศึกษา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูผู้สอนในส่วนการศึกษาอนุบาล ส่วนการศึกษา ประถมศึกษา และส่วนการศึกษามัธยมศึกษา ในโรงเรียนไผทอุดมศึกษา จำนวน 220 คน กลุ่มตัวอย่าง ที่ศึกษาใช้สูตรคำนวณของทาโร่ ยามาเน่ ระดับความเชื่อมั่น 95% และค่าความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 142 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ดำเนินการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานการวิชัยด้วยการทดสอบแบบ ที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบเปรียบเทียบเป็นรายคู่ตามวิธีของเชฟเฟ่ผลการวิจัย พบว่า (1) ความคิดเห็นต่อระดับความผูกพันองค์การของครูโรงเรียน ไผทอุดมศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก และจำแนกเป็นรายข้ออยู่ในระดับมากทุกด้าน (2) ผลการ ทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคล จำแนกตาม เพศ ระดับการศึกษา และหน่วยงาน ต่างกัน มีความผูกพันองค์การไม่แตกต่างกัน ส่วนอายุ สถานภาพ ระยะเวลาในการทำงาน และ รายได้ต่างกัน มีความผูกพันองค์การแตกต่างกันเป็นการยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ลักษณะทางการ บริหารและประสบการณ์จากการทำงานต่างกัน มีความสัมพันธ์กับความผูกพันองค์การแตกต่างกัน เป็นการยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ (3) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อความผูกพันองค์การของครู โรงเรียนไผทอุดมศึกษา ครูส่วนใหญ่มีความคิดเห็นด้านการมีปฏิสัมพันธ์และกิจกรรมร่วมกัน ผู้บริหารควรมีการเสริมสร้างการชัดกิจกรรมระหว่างส่วนการศึกษา การทำงานร่วมกันเป็นทีม การ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างครู ส่วนการศึกษา ผู้บริหาร ให้มากขึ้น เพื่อเพิ่มความรักใคร่ ปรองดอง สามัคคี ภายในองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--พิษณุโลกth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์อาหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์หนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล ประเภทอาหารของผู้บริโภคจังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeConsumer buying behavior for food category OTOP in Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study consumers’buying behavior in food category OTOP products in Mae Hong Son Province; (2) to study the marketing mix significance level of food category OTOP products in Mae Hong Son Province; and (3) to compare the difference of buying behavior by market mix factors. This research was a survey research. The population was consumers who used to buy the food categories OTOP products in Mae Hong Son Province without exact numbers. There were 385 samples in this research by the error of 0.05 and with convenient sampling. The questionnaire was used as a research tool. Data analysis was show by percentage, mean, standard deviation, and one-way –ANOVA formula. The research result showed that: (1) most of the consumers bought sesame OTOP products, bought 1-5 times a month, spent money between 100 to 500 baht in each time, bought the product for themselves, bought the food products 1 to 5 pieces at local shops and markets. They bought and made decision by themselves to buy the products; (2) the marketing mix (4Ps) significance affected food category OTOP products was at the high level. The PLACE was the highest significance level in buying food OTOP and PROMOTION was the lowest significance level; and (3) frequency of food OTOP products in a month and the amount of money to buy the products once affected marketing mix of PRICE with the statistical significance at level 0.05. The amount of OTOP products at a time and popular place affected marketing mix of price and retail shop channel with the statistical significance at level 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_128647.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons