Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9113
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเนติภูมิ เมฆฉาย, 2530- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-25T07:41:32Z-
dc.date.available2023-08-25T07:41:32Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9113en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวคิดในการดำเนินคดีอาญา และการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจระหว่างองค์กรในการควบคุมคำสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาของพนักงาน อัยการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 145และมาตรา 145/1 และการชี้ขาดอำนาจ สอบสวนกรณีไม่แน่ใจว่าพนักงานสอบสวนใดควรเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบตามมาตรา 21 และมาตรา 21/1 ว่ามีการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจเหมาะสมหรือไม่ ตลอดจนเสนอแนะแนวทาง ที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวบทกฎหมาย หนังสือ บทความ เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และเก็บข้อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผลการศึกษาพบว่า ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติดังกล่าว มีการตรวจสอบ และถ่วงดุลอำนาจที่ไม่เหมาะสมในส่วนของการทำความเห็นแย้งคำสั่งไม่ฟ้องคดีของพนักงานอัยการ กรณีที่เจ้าพนักงานตำรวจเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 145/1 จึงเสนอแนะให้แก้ปัญหาดังกล่าวโดย ในกรณีจังหวัดอื่นกำหนดให้เป็นอำนาจของเจ้าพนักงาน ฝ่ายปกครองศึอผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอำนาจทำความเห็นแย้ง ส่วนในกรุงเทพมหานคร กำหนดให้ พนักงานฝ่ายปกครอง ได้แก่ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นผู้มีอำนาจทำความเห็นแย้ง ส่วนในประเด็นของผู้มีอำนาจชี้ขาดในกรณี ที่ไม่แน่ว่าพนักงานสอบสวนคนใดควรเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบตามมาตรา 21/1 นั้น บทบัญญัติ ดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อยุติปัญหาความไม่แน่ชัดของการกำหนดตัวพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ เพราะหากปล่อยไว้คดีไว้โดยไม่มีกำหนดตัวพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบย่อมส่งผลให้การสอบสวน ล่าช้า และเป็นการทำลายหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนผู้เกี่ยวข้องในคดี บทบัญญัติตามมาตรา 21/1 จึงไม่เป็นการขัดต่อหลักการถ่วงดุลและตรวจสอบอำนาจth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติth_TH
dc.subjectดุลอำนาจth_TH
dc.subjectความเห็นแย้งth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleผลกระทบในการตรวจสอบและการถ่วงดุลอำนาจภายใต้ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติฉบับที่ 115/2557 เรื่องแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาth_TH
dc.title.alternativeThe effect on checks and balances under National Council for Peace and Order declaration issue 115/2557 on additional revised of criminal procedure lawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research entitle of “National Council for Peace and Order declaration issue 115/2557 on additional revised of criminal procedure law: A case study of legal problems and effects for checks and balances” aim to studying the concept and general principles of criminal proceedings and checks and balances theory between two organizations to control a public prosecutor’s non-prosecution order according to the Criminal Procedure Code of Thailand section 145 and section 145/1. And power to deciding who shall be the investigative officer according to section 21 and 21/1 whether has a proper checks and balance and find a reasonable approach in solving such problems. This research is a qualitative study with the methodology of documentary research by provisions of laws, text books, articles, academic papers, theses, and other sources from internet in both the Thai and English languages. The result of this research has been reveal that section 145/1 has an inappropriate checks and balances system in case of making dissenting opinion for public prosecutor’s non-prosecution order. Therefore, researcher propose that in case of province outside Bangkok, person has in charge of making dissenting opinion is provincial governor. In case of Bangkok, person has in charge of making dissenting opinion are Bangkok Governor, Deputy Bangkok Governor and Permanent Secretary for the Bangkok Metropolitan Administration. The issue of section 21/1, this section has object in solving problem who shall be the investigative officer. In case there is no investigative officer, the investigation will be late and against the right and liberty of related person. Therefore section 21/1 is not against checks and balances system.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_156617.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons