Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9115
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลาวัลย์ หอนพรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ธวัช เชื้อกุล, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-25T07:56:26Z | - |
dc.date.available | 2023-08-25T07:56:26Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9115 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ ทรัพย์สิน และหนี้สิน กระบวนการ หลักเกณฑ์และวิธีการของกฎหมายที่ใช้ในการตรวจสอบ ทรัพย์สิน และหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองของต่างประเทศและไทย การวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรคในการตรวจสอบทรัพย์สิน และหนี้สิน การนำผลการศึกษา และวิเคราะห์ไปสู่ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกฎหมาย และบทลงโทษที่เกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สิน และหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) จากตำรากฎหมายทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด ทฤษฎี วารสาร กฎหมาย คำพิพากษา และสภาพปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการในการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สิน ซึ่งเป็นมาตรการหนึ่งในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง โดยการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้เป็นหน้าที่อันสำคัญของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เพื่อแสดงถึงความความบริสุทธิโปร่งใสตรวจสอบได้ แต่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองยังละเลยหน้าที่อันสำคัญนี้ ผู้ศึกษาจึงเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น แก้ไขพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ควรให้มีการเปิดเผยบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองต่อสาธารณชน และแก้ไขบทกำหนดโทษ มาตรา 119 และแก้ไขบทลงโทษทางการเมืองให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้เพื่อให้กระบวนตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | นักการเมือง--การแสดงทรัพย์สิน | th_TH |
dc.subject | การเปิดเผยข้อมูล | th_TH |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | บทลงโทษผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หรือจงใจปกปิดยื่นเท็จแห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 | th_TH |
dc.title.alternative | Penalty of the political office holder who willfully fails to submit list of assets and liabilities or willfully conceals and submits false list for organic act on counter corruption B.E. 2542 (1999) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this independent study is to study theories related to audit of assets and liabilities, legal processes, criteria and procedures applied in audit of assets and liabilities of the political office holders of foreign countries and Thailand, and analysis on problems and obstacles for audit of assets and liabilities, application of studying and analytical results toward suggestions on update of laws and penalties related to audit of assets and liabilities of the political office holders. This independent study is qualitative research using Method of Documentary Research from code of laws both in Thai language and foreign language, being related to the relevant concepts, theories, journals, laws, judgments and problem conditions for the said matter. The finding of the studying result indicated that the submission process of list of assets and liabilities is an auditing measure for exercise of state power by the political office holder. The submission of list of assets and liabilities is the important duty of the political office holders to show their innocence, transparency and accountability, but the political office holders have still ignored this important duty. The researcher therefore has suggested the solving guideline for the said problems such as revision of Organic Act on Counter Corruption B.E. 2542 (1999) and Amendment. The list of assets and liabilities of the political office holder should be publicly disclosed; and Penal Code under Section 119 and Political Penalty should be revised to be in line with the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 (2017) for more efficiency of auditing process for exercise of state power. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_156809.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License