กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9125
ชื่อเรื่อง: | การลดอัตราการสูญเสียของผลิตภัณฑ์ในกระบวนการผลิตโดยใช้ซิกซ์ซิกมา : กรณีศึกษา บริษัทเครื่องสุขภัณฑฺ์อเมริกันสแตนดาร์ด (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Production loss reduction by six sigma : American Standard Sanitaryware (Thailand) public company limited |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ วรางคณา กลิ่นสุคนธ์, 2506- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ |
คำสำคัญ: | เครื่องสุขภัณฑ์ การควบคุมการผลิต ซิกซ์ซิกม่า (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี. |
วันที่เผยแพร่: | 2546 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาขั้นตอนการนำชิกซ์ซิกม่ามาใช้ในการควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรมสุขภัณฑ์ และ (2) เปรียบเทียบผลสำเร็จที่ได้จากโครงการซิกซ์ซิกม่าที่ประสบความสำเร็จของบริษัท เครื่องสุขภัณฑ์อเมริกันสเตนดารัด จำกัด (มหาชน) กับกรณีศึกษาของบริษัท Titanium Metal Corporation (TIMET) ทำการเก็บรวมรวมข้อมูลวิธีการดำนินงานระบบควบคุมคุณภาพแบบชิกซ์ซิกม่า เก็บข้อมูลสถิติในกระบวนการผลิตก่อนเริ่มโครงการลดอัตราการสูญเสียในกระบวนการผลิตโคยใช้วิธีซิกซ์ซิกม่าของกรณีศึกษาบริษัท เครื่องสุขภัณฑ์อเมริกันสแตนดาร์ค (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) หาความสัมพันธ์ของอัตราการ สูญเสียในขณะดำเนินการควบคุมคุณภาพแบบชิกซ์ซิกม่านละเมื่อประสบความสำเร็จในการลดอัตราการสูญเสียได้ตามเข้าหมาย เปรียบเทียบผลที่ได้กับกรณีตัวอย่างของบริษัทที่ประสบความสำเร็จจาก โครงการการลดการสูญเสียและของที่ต้องนำกลับเข้าสู่กระบวนการผลิตใหม่เนื่องจากเกิดการแตกที่ผิวของบริษัท Titanium Metal Corporation (TIMET) ผลการวิจัยพบว่าสามารถนำระบบการควบคุมคุณกาพแบบชิกซ์ซิกม่ามาใช้ในกระบวนการผลิตสุขภัณฑ์ได้ ควรมีการจัดจ้างบริษัทที่ปรึกษาโครงการซึ่งจะทำให้การดำเนินการมีประสิทธิภาพดีกว่าเนื่องจากมีผู้มีประสบการณ์ให้คำปรึกษาแนะนำ และการคัดเลือกบุคลากรเพื่อมารับตำแหน่งแบลคเบลท์ควรจะเป็นบุคคลที่มีประสิทธิกาพในการทำงานสูง หรือการกำหนดเป้าหมายของโครงการก็ไม่สามารถกำหนดได้สูงเนื่องจากธรรมชาติของอุตสาหกรรมสุขภัณฑ์เป็นอุตสาหกรรมที่เนันแรงงาน |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9125 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License