Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9128
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวันเพ็ญ แต่งตั้ง, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-26T14:19:11Z-
dc.date.available2023-08-26T14:19:11Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9128-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปต่อการจัดการ การท่องเที่ยวตลาดน้ำดำเนินสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักท่องเที่ยวชาวยุโรป ที่มาเที่ยว ตลาดน้ำดำเนินสะดวก จำนวน 100 คนจาก 10 ประเทศ โดยใช้แบบสอบถามเป็น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้วิเดราะห์ข้อมูล คือ ด่ารัอยละ ด่าเฉลี่ย และค่า เบี่ยงเบนมาดราฐานในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิดิใช้โปรแกรม SPSS For Windows Version 10 ผลการวิจัย พบว่า นักท่องเที่ยวชาวยุโรปเพศชายมาเที่ยวดลาดน้ำดำเนินสะดวก มากกว่าเพศหญิง ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอายุ 25-34 ปี สถานภาพสมรส การศึกษาอยู่ในระดับ มัธยมปลาย ประกอบอาชีพวิชาชีพอิสระ และมีรายได้เฉลี่ยด่อเดือนระหว่าง 1,250-2,000 ยูโร สิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยวชาวยุโรปที่เดินทางมาประเทศไทยคือ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม แรงจูงใจในการมาท่องเที่ยวดลาดน้ำดำเนินสะดวกมากที่สุดคือ เพื่อชมวิถีชีวิตของชุมชนริมน้ำ และบรรยากาศที่ตลาดน้ำ สำหรับกิจกรรม ณ ตลาดน้ำที่นักท่องเที่ยวชาวยุโรปได้ทำมากที่สุด คือ เดินชมบริเวณรอบ ๆดลาดน้ำดำเนินสะดวกและบริเวณชุมชนริมน้ำ แหล่งข้อมูลข่าวสารที่ นักท่องเที่ยวได้รับมากที่สุดคือ บริษัทนำเที่ยว นักท่องเที่ยวชาวยุโรปมีความพึงพอใจต่อการ จัดการการท่องเที่ยวด้านคุณลักษณะทางกายภาพโดยรวมในระดับมาก และมีความพึงพอใจ ด้านดวามสวยงามและเป็นเอกลักษณ์มากที่สุด สำหรับด้านการบริการ ให้ความพึงพอใจกับการ บริการของมัคอุเทศก็มากที่สุด ส่วนการสอบถามความคิดเห็นในการเดินทางมาท่องเที่ยวตลาด น้ำดำเนินสะดวกซ้ำอีก นักท่องเที่ยวชาวยุโรปให้ความเห็นว่าไม่แน่ใจว่าจะเดินทางมาท่องเที่ยว อีกหรือไม่ จากผลการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะในเรื่องการปรับปรุงปัจจัยพื้นฐานที่เป็นสิ่งอำนวย ความสะดวกของตลาดน้ำดำเนินสะดวกได้แก่ ห้องน้ำ ถังขยะ มลภาวะทางอากาศ ทางเดินเพื่อ ชมบรรยากาศริมน้ำ ปรับปรุงความสะอาดของลำคลอง และความสะอาดของอาหารที่จำหน่าย การจัดระเบียบร้านขายของที่ระลึก การควบคุมผู้ประกอบการไม่ให้เอารัดเอาเปรียบนักท่อง เที่ยว และแสดงอัตราค่าบริการอย่างเปิดเผยให้นักท่องเที่ยวทราบ ดลอดจนการส่งเสริมชุมชน ให้ผลิตสินค้าหัตถกรรมที่มีเอกลักษณ์ของชุมชนมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectนักท่องเที่ยวต่างชาติ--ไทย--ราชบุรีth_TH
dc.subjectนักท่องเที่ยว--ยุโรปth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปต่อการจัดการการท่องเที่ยวตลาดน้ำดำเนินสะดวก อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeEuropean tourist satisfaction to tourism management a case study of Damnuensaduak Floating Market Rachaburi provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
80301.pdf3.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons