กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9130
ชื่อเรื่อง: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับต้น : ศึกษากรณี ผู้ช่วยผู้จัดการธนาคารออมสินสาขา
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The satisfaction with working operation of first line managers : a case study of The Government Savings Bank branch manager assistants
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษา
วีรนุช ตรีลักษณ์อานนท์, 2511-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: ธนาคารออมสิน--นายธนาคาร--ความพอใจในการทำงาน
ธนาคารออมสิน--พนักงาน--ความพอใจในการทำงาน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
ธนาคารและการธนาคาร--ไทย
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
ความพอใจในการทำงาน
วันที่เผยแพร่: 2546
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจัยค้านงนกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ตลอดจนปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดในการปฏิบัติงานของผู้ช่วยผู้จัดการธน ค ารออมสินสาขา การศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน จำแนกเป็น 12 ปังจัย ตามทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์กกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ช่วยผู้จัคการธนาคารออมสินสาขาทั่วประเทศ จำนวน 590 ราย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ได้รับตอบกลับ จำนวน 413 ราย (ร้อยละ 70) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยง มาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้ตถิติ t-test One Way Analysis of คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS Variance และสถิติที่ใช้เปรียบเทียบความแตกต่างในแต่ละดู่ คือ Schefic โดยใช้โปรแกรม ผลการศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงนของผู้ช่วยผู้จัดการชนาคารออมสินสาขาโคยรวมทั้ง 12 ปัจจัย พบว่า มีคว เมพึงพอใจ "ระดับมาก" ซึ่งแยกระดับความพึงพอใจย่อยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่พึงพอใจ "ระคับมาก" มี 8 ปัจจัยได้แก่ (1) ความสำเร็จของงาน (2) การได้รับการขอมรับนับถือ (3) ลักษณะงานที่ปฏิบัติ (4) ความรับผิดชอบ (5) ความก้าวหน้าในงานที่ทำ (6) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (7 สภาพแวดล้อมในการทำงาน (8) การปกครองบังคับบัญชา และกลุ่มที่พึงพอใจ"ระดับปานกลาง" มี 4 ปัจจัย ได้แก่ (1 นโยบายและการบริหารงาน (2) เงินเดือน สวัสดิการ และด่าตอบแทน (3) ความมั่นคงและความปลอดภัย (4) ความเป็นอยู่ส่วนตัวผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านงาน กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยผู้จัดการธนาคารยอมสินสาขา พบว่าตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% มี 5 ปัจจัย ได้แก่ (1) อายุ (2) ระดับการศึกษา (3) ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานที่สาขาก่อนตำรงตำแหน่ง(4) ลักษณะของงนที่รับผิดชอบ (5) ขนาดของหน่วยงาน สำหรับตัวแปรที่ไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มี 6 ปัจจัย ได้แก่ (1) เพศ (2) สถานภาพสมรส (3) อายุงานในตำแหน่ง (4) อัตราเงินเดือนที่ได้รับในปัจจุบัน (S) สถานที่ปฏิบัติงาน (6) จำนวนพนักงานในความรับผิดชอบ ผลการศึกษาเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดในการปฏิบัติงานของผู้ช่วยผู้จัดการ ธนาคารออมสินสาขา ที่สำคัญได้แก่ (1) ผู้บังคับบัญชามีการสั่งงนหรือมอบหมายงานไม่แน่นอนและไม่ชัดเจน (2) ผู้ใต้บังกับบัญชาบาคทักษะและความรอบรู้ในการปฏิบัติงน (3) อัตราเงินเดือนที่ได้รับในปัจจุบันต่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับอัตราเงินเดือนของธนาคารพาณิชย์อื่น(4) หน่วยงาน ต่าง ๆ ในสำนักงานใหญ่และชนาคารออมสินภาค มักขอข้อมูลในเรื่องเดียวกันจากสาขาอยู่เสมอ (5) ระเบียบ คำสั่งหนังสือเวียน เปลี่ยนไปเปลี่ยนมานละขัดแช้งกันเองอยู่เสมอ จนทำให้ผู้ปฏิบัติเกิดความสับสน
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9130
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
82071.pdf5.96 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons