Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9148
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
dc.contributor.authorณรงค์ ฮิเท้ง, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T02:45:16Z-
dc.date.available2023-08-28T02:45:16Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9148en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นไปด้วยความเป็นธรรม สะดวกรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และมีความรอบคอบเที่ยงธรรมตามหลักสากลว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง โดยเฉพาะการพิจารณาคดีโดยไม่มีตัวจำเลยรวมทั้งให้ทราบถึงหลักแนวคิด ทฤษฎี นิติรัฐ นิติธรรม หลักการ ดำเนินคดีอาญา หลักรัฐธรรมนูญ หลักการพิจารณาคดีลับหลังจำเลยในคดีอาญาของผู้ดำรง ตำแหน่งทางการเมืองของต่างประเทศ หลักสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองเพื่อวิเคราะห์ปัญหา การพิจารณาคดีลับหลังจำเลยในคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองของต่างประเทศกับประเทศไทย และเสนอแนวคิดการแก้ไขกฎหมายและข้อกำหนดของประเทศไทยให้เป็นธรรมตามหลักสากล การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาจากเอกสารทางนิติศาสตร์ ตำราทางวิชาการ กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติต่าง ๆ วิทยานิพนธ์ทางกฎหมาย บทความทางวิชาการกฎหมาย และสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายทั้งของประเทศไทย และต่างประเทศ ผลการศึกษา พบว่า การใช้หลักการพิจารณาคดีอาญาโดยทั่วไปกับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีความแตกต่างกัน ควรนำหลักการพิจารณาคดีลับหลังจำเลยมาใช้ไนการพิจารณาคดีกับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองกรณีที่จำเลยหลบหนีไม่ยอมมาศาล เพราะถือว่าจำเลยปฏิเสธหรือสละสิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีต่อหน้าตน สิทธิที่จะต่อสู้คดีด้วยตนเอง หรือผู้ช่วยเหลือทาง กฎหมายที่ตนเป็นผู้เลือก รวมทั้งสิทธิในการเผชิญหน้าและถามค้านพยาน ซึ่งการพิจารณาคดีอาญา ตามหลักการสากลว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองยอมรับให้มีการพิจารณาลับหลังจำเลย ได้ในฐานะเป็นข้อยกเว้นโดยต้องมีหลักประกันสิทธิในการต่อสัโต้แย้งของจำเลยไว้อย่างเต็มที่และเท่าเทียมกันทางกฎหมายด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาความอาญา--ไทยth_TH
dc.subjectนักการเมือง--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการพิจารณาคดีลับหลังจำเลยในคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองth_TH
dc.title.alternativeTrial in absentia in criminal case of the persons holding political positionsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study indicated that the application of law in general criminal trial and in persons holding political positions criminal trial were different. The principle of trial in absentia should be applied in trial with the political office holder in case of the defendant’s escape and denial to appear before court since it is deemed that the defendant refuses or waives his/her right to be on trial before himself/herself, right of self-defense or defended by legal assistant selected by himself/herself, and right to confront and cross-examine witness. According to the International principle of civil right and political right, the trial in absentia is accepted as exception under the requirement to assure the right of the defendant to defend himself/herself fully equally and legally.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_158414.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons