Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมาน กฤตพลวิมาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิวัฒน์ โอบอ้อม, 2524- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T03:05:43Z-
dc.date.available2023-08-28T03:05:43Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9150en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฏี ประวัติความเป็นมา เกี่ยวกับอำนาจการสอบสวนของตำรวจและฝ่ายปกครอง ศึกษาความหมายของการสอบสวน วัตถุประสงค์วิธีการ ผู้มีอำนาจสอบสวนในประเทศไทย และบทบาทอำนาจหน้าที่ของนายอำเภอ ในการสอบสวนคดีป่าไม้และทรัพยากรอื่นของชาติศึกษากฎหมายและหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทยและสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่เกี่ยวกับคดีป่าไม้เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินคดีอาญาและกระบวนการสอบสวนของไทยและต่างประเทศเพื่อศึกษาปัญหาสภาพกฎหมาย คำสั่ง ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย และสำนักงานตำรวจแห่งชาติเพื่อให้การบังคับกฎหมายมีประสิทธิภาพ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร จากการเก็บรวบรวมข้อมูลตัวบทกฎหมาย หนังสือ บทความ เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์และ ข้อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผลการศึกษาพบว่า ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยระเบียบการดำเนินคดีอาญา พ.ศ.2523 แก้ไขเพิ่มเดิม ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2523 ( ฉบับที่3 ) พ.ศ.2523 ( ฉบับที่ 4 ) พ.ศ.2525 (ฉบับ ที่ 5 ) พ.ศ.2536 และ(ฉบับที่ 7).พ.ศ.2538 ข้อ 12.4 และข้อ 12.5 ในเรื่องใช้อำนาจควบคุมการสอบสวนของพนักงานฝ่ายปกครองชั้นผู้ใหญ่ (นายอำเภอ ) ขัดแย้งกับคำสั่งสำนักงานตำรวจ แห่งชาติที่ 419/2556 ลงวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ทำให้นายอำเภอไม่สามารถใช้อำนาจเข้า ควบคุมและร่วมสอบสวนคดีป่าไม้และทรัพยากรของชาติได้ ก่อให้เกิดผลเป็นปัญหาข้อกฎหมาย ระหว่างกระทรวงมหาดไทยและสำนักงานตำรวจแห่งชาติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการสืบสวนคดีอาญาth_TH
dc.subjectนายอำเภอth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการใช้อำนาจสอบสวนในคดีป่าไม้ของนายอำเภอth_TH
dc.title.alternativeExercising of investigative authority of chief district officer in forestry casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study is to examine the concepts, theories and history in connection with the investigative authority of police officers and administrative agencies, to study the meaning of investigation, underlying objective, methodology, relevant entities with investigative authority in Thailand and the roles and authorities of chief district officers in the investigation of cases relating to forestry and other national resources, to study the laws and official letters issued by the Ministry of Interior and the Royal Thai Police in relation to forestry cases, to compare the criminal procedures and investigation processes of Thailand and those of other countries, to examine the issues of the laws, orders, regulations of the Ministry of Interior and the Royal Thai Police to ensure the effectiveness in the enforcement of the laws. This independent study is a legal research conducted by way of a qualitative research methodology through examination of documents and data collection from the provisions of the laws, text books, articles, academic journals, research papers, thesis and information derived from the internet both in Thai and English. The study shows that the Regulation of the Ministry of Interior Re: Regulations on Criminal Proceedings B.E. 2523 (1980) and as amended (No. 2) B.E. 2523 (1980), (No.3) B.E. 2523 (1980), (No.4) B.E. 2525 (1982), (No.5) B.E. 2536 (1993) and (No. 7) B.E. 2538 (1995) in Articles 12.4 and 12.5 relating to the exercising of authority by high-ranking administrative officials (chief district officer) in the supervision of an investigation is contradictory to the Official Order No. 419/2556 dated 1 July 2013 issued by the Royal Thai Police which renders the chief district officer unable to exercise the authority in supervising and co-investigating in the investigation of forestry and national resources cases and therefore causes legal issues between the Ministry of Interior and the Royal Thai Police.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_158484.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons