Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนุชิต จิโรจพงศ์, 2518- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T03:21:59Z-
dc.date.available2023-08-28T03:21:59Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9151-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ความหมาย วิวัฒนาการ และหลักการของการนิรโทษกรรม ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับการนิรโทษกรรมของไทยและต่างประเทศ ตลอดจนปัญหาเกี่ยวกับการบังคับใช้ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 113 เพื่อศึกษาการนิรโทษกรรม ของความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงภายในและเพื่อแสวงหาหลักเกณฑ์ในการยกเลิกกฎหมายนิรโทษกรรม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้จากการวิจัยเอกสาร ตำราทางวิชาการ งานวิทยานิพนธ์ ผลงานการวิจัย คำพิพากษาศาล และข้อมูลสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั้งภาษาไทย และต่างประเทศ รวมถึงเอกสารทางวิชาการ แนวความคิด ทฤษฎี บทความทางกฎหมาย สี่งพิมพ์ ทางวิชาการ รวมทั้งเอกสารอื่นที่เป็นประโยชน์ ผลการศึกษาพบว่า ในหลายประเทศที่มีการนิรโทษกรรมความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง ภายในประเทศ ส่วนใหญ่ มีวิธีดำเนินการแค้ปัญหาคล้ายคลึงกัน คือ ประกาศยกเลิกนิรโทษกรรม หรือประกาศการเป็นโมฆะของกฎหมายนิรโทษกรรม เพราะสาเหตุหลายประการ อาทิ ความขัดแย้ง ต่อรัฐธรรมนูญ ตลอดจนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนูษยชน สิทธิของพลเมือง สิทธิในการเข้าถึง กระบวนยุติธรรม แม้แต่มาจากการโหวตลงคะแนนเสียงของประชาชน ทำให้สามารถนำตัวผู้กระทำผิด มาเข้าสู่กระบวนพิจารณาลงโทษตามกฎหมายแม้เวลาจะล่วงเลยมานาน แสดงให้เห็นว่ากฎหมาย นิรโทษกรรมนั้นขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญ ละเมิดสิทธิของประชาชนล้วนแต่เป็นโมฆะหรือสามารถ ยกเลิกได้จริง การออกกฎหมายควรเป็นไปเพื่อประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของตนเอง พวกพ้องหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยได้เสนอแก้ไขกฎหมาย หน้าที่ของกองทัพให้มีหน้าที่ปกปัองภัยจากภายนอกเท่านั้น รับรองสถานะรัฐธรรมนูญว่ายังบังคับ ใช้แม้มีเหตุแทรกแซงทางการเมือง ยิ่งไปกว่านั้นประชาชนมีสิทธิต่อต้านการกระทำดังกล่าว และเสนอยกเลิกกฎหมายนิรโทษกรรม ประกาศความเป็นโมฆะของกฎหมายนิรโทษกรรม รวมทั้งให้ศาลใช้ดุลยพินิจคำนึงถึงหลักกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายที่เกี่ยวข้องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนิรโทษกรรมth_TH
dc.subjectความผิดต่อความมั่นคงแห่งรัฐth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการนิรโทษกรรมความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงประมวลกฎหมายอาญามาตรา 113th_TH
dc.title.alternativeThe amnesty of internal security offences with the Criminal Code, section 113en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study is to aim to study concepts, theories, meaning, evolution and the principle of amnesty, study on amnesty laws in thailand and foreign country as well as the problem regarding to enforcement of the Criminal Code section 113 to study the amnesty of internal security offences and to seek the guideline for repeal the amnesty law. This Independent study is a qualitative research by education researches from document, academic textbooks, thesis, success research, judgment of the Court and data from electronic media both of Thai and foreign sources including academic papers, concepts, theories, law articles, academic publications and other documents. The study found that in many countries the amnesty of internal security offences that most countries have the similar method to resolve the problem that is announcement the repeal the amnesty law or announcement the voidance of the amnesty law, from many causes such as the conflict of Constitution and the Universal Declaration of Human Rights and Civil Rights, the rights to access the justice process and plebiscite. It results to bring the wrongdoers to the proceeding of punishment although it took a long time. It showed that the amnesty law is conflict with the Constitution and violate the people rights, which is void or can be repeal. Therefore, the law enactment should be for benefit of people, not being to individual’s benefit or brotherhood or specific person. To solve these mentioned problems the researcher would like to propose to amend the law of the duties of army that is it should be only protect threat from outside, to certify the status of Constitution which it will be enforce eventhough there is politic intervention. Moreover, the civil has a right to against the wrong action and offer the voidance of the amnesty law, announcement of void of amnesty law, including suggest the court to use discretion by concern with the principle of international law and related law.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_158486.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons