Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9152
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สาวิตรี พางาม, 2528- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-28T03:36:00Z | - |
dc.date.available | 2023-08-28T03:36:00Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9152 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาเกษตร)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษา (1) สภาพการผลิตและกระบวนการผลิตช้าวอินทรีย์ (2) การจัดการความรู้ด้านการผลิตข้าวอินทรีย์ในระยะต้นน้ำ (3) การจัดการความรู้ด้านการผลิตข้าวอินทรีย์ในระยะกลางน้ำ (4) การจัดการความรู้ด้านการผลิตข้าวอินทรีย์ในระยะปลายน้ำ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการความรู้ด้านการผลิตข้าวอินทรีย์ ผลการวิจัยพบว่า (1) แหล่งความรู้ที่เกษตรกรได้รับมากที่สุด จากสื่อบุคคล รองลงมา คือ สื่อกิจกรรมมีพื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์เฉลี่ย 10.32 ไร่ ร้อยละ 93.9 ใช้พันธุ์ข้าวดอกมะลิ 105 ผลผลิตเฉลี่ย 348.16 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 2,434.86 บาทต่อไร่ ประสบการณ์ในการผลิตข้าวอินทรีย์เฉลี่ย 2.10 ปี และมีการดำเนินการตามกระบวนกาวผลิตข้าวอินทรีย์มากที่สุด คือ ระยะต้นน้ำในประเด็นจัดการพื้นที่ (ขอบเขตพื้นที่)/กาวทำแนวป้องกันการปนเปื้อน รองลงมา คือ ระยะกลางน้ำในประเด็นการทำความสะอาดเครื่องจักรแปรรูปก่อนสีข้าว และแจ้งปริมาณข้าวที่จะสี (2) การจัดการความรู้ในระยะต้นน้ำมากที่สุด คือ การเรียนรู้ในประเด็นได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ เป็นประสบการณ์ใหม่ และได้ความรู้ใหม่ รองลงมา คือ ได้สร้างและแสวงหาความรู้จากประสบการณ์ของกลุ่ม/เครือข่าย (3) การจัดการความรู้ในระยะกลางน้ำมากที่สุด คือ การเรียนรู้ในประเด็นได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ เป็นประสบการณ์ใหม่และได้ความรู้ใหม่รองลงมาคือ ได้สร้างและแสวงหาความรู้โดยเข้ารับการฝึกอบรมสัมมนา (4) การจัดการความรู้ในระยะปลายน้ำมากที่สุด คือ การเรียนรู้ในประเด็นได้นำความรู้ไปแก้ไขปัญหาในงานหรือพัฒนางานใด้มีประสิทธิกาพสูงขึ้น รองลงมา คือ เข้าถึงความรู้จากการประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการจัดระบบความรู้ในระยะต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ น้อยที่สุด คือ การเก็บข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ (5) เกษตรกรมีปัญหาด้านการจัดระบบความรู้ระดับปานกลางในประเด็นขาดการเก็บข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ รองลงมาปัญหาด้านการกำหนดความรู้ที่ต้องการระดับน้อยในประเด็นยังทราบกระบวนการผลิตข้าวอินทรีย์และวิธิการเก็บรักษาแปรรูปและบรรจุกัณฑ์ไม่ครบทุกข้อกำหนดข้อเสนอแนะควรส่งเสริมการจัดเก็บข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์เจ้าหน้าที่และเกษตรกรควรมีการวางเป้าหมายและกำหมดความรู้ที่ต้องการร่วมกับก่อนนำมาถ่ายทอดความรู้และควรเปิดโอกาสให้เกษตรกรไปศึกษาดูงานเข้าอบรมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกลุ่ม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การบริหารองค์ความรู้ | th_TH |
dc.subject | ข้าวอินทรีย์--การผลิต | th_TH |
dc.title | การจัดการความรูด้านการผลิตขาวอินทรีย์ของเกษตรกรจังหวัดลพบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Knowledge management of organic rice production by farmers in Lopburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) production conditions and organic rice production (2) knowledge management about organic rice production in the upstream phase (3) knowledge management about organic rice production in the midstream phase (4) management about organic rice production in the downstream phase (5) problems and suggestions in knowledge management of organic rice production. The population of this study was 276 farmers who participated in sustainable agriculture development project. The sample size of 163 people was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 and simple random sampling method. Tool used in this study was interview form. Statistics employed were such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, standard deviation, and ranking. The results of the research showed that (1) knowledge resource that farmers received the most was from personal media. Second to that was from activity media. They had the average organic rice production area of 10.32 Rai. 93.9% of farmers used Khao Dok Mali 105 seeds and had the average product volume of 348.16 kilogram/Rai. The average cost of production was 2,434.86 Baht/Rai, the average experience of organic rice production was 2.10 years, and the operations according to organic rice production process at the highest level was that for the downstream phase in the aspect of area management (territory)/ the creation of protective zone to prevent contamination. Second to that was that for the midstream phase in the aspect of cleaning the processing machines prior to rice milling and notifying the amount of rice to be milled. (2) The highest level of knowledge management in the upstream phase was in the aspect of learning various things to gain new experiences and new knowledge. Second to that was to create and seek knowledge from the experience of group/network. (3) The highest level of knowledge management in the midstream phase was the learning in the aspect of obtaining new experiences as well as new knowledge. Second to that was to create and seek knowledge through trainings and seminars. (4) The highest level of knowledge management in the downstream phase was the learning about knowledge adoption to solve problems at work or to improve the effectiveness of the work. Second to that was about the accessibility to the knowledge from the public relation of related agencies and the knowledge system management in the upstream, midstream, and downstream phases were at the lowest level in the aspect of data keeping with the computer. (5) Farmers faced with the problem in the aspect of knowledge system management at the moderate level about the lack of data storage by computer. Second to that was the problem in the aspect of needed knowledge determination at the low level on the fact that they received incomplete information about rules in organic rice production process and storage, processing, and packing methods. Suggestions regarding the extension for keeping information via computer would be that officers and farmers should set target and determine mutual knowledge prior to the knowledge transfer. Also, they should open up the opportunity to farmers to have on-site visit, to attend training and seminar in order for them to exchange knowledge between groups. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168459.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License