Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9156
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถํ้าth_TH
dc.contributor.authorชัชพล ชั้นประดับ, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T04:21:17Z-
dc.date.available2023-08-28T04:21:17Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9156en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ความหมาย ประเภทและลักษณะของคดีการค้ามนุษย์ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ศึกษาหลัก กฎหมายเกี่ยวกับการแสวงหาพยานหลักฐานในคดีการค้ามนุษย์ โดยเทคนิคพิเศษตามพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และเปรียบเทียบกับมาตรการทางกฎหมายในการแสวงหา พยานหลักฐานคดีค้ามนุษย์โดยเทคนิคพิเศษตามกฎหมายสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และเยอรมนี เพื่อวิเคราะห์ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับการแสวงหาพยานหลักฐานในคดีการค้ามนุษย์โดยเทคนิคพิเศษ เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปรับปรุงการแสวงหาพยานหลักฐานในคดีการค้ามนุษย์โดยเทคนิคพิเศษตาม พระราชบัญญัดีป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์พ.ศ.2551 ให้มีความเหมาะสม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสารโดยการศึกษา ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากหนังสือ ตำรากฎหมาย บทความ วารสาร รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ คำพิพากษาศาลฎีกา ตลอดจนเอกสาร สิ่งพิมพ์และสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหา พยานหลักฐานโดยเทคนิคพิเศษในคดีการค้ามนุษย์ ผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 มิได้บัญญัติให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประเภทข้าราชการพลเรือนสามัญระดับสามซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และขาดสภาพบังคับในทางกฎหมาย ไม่มีการกำหนดโทษทัณฑ์แก่ผู้ฝ่าฝืนการบังคับใช้เทคนิคพิเศษ ไม่ครอบคลุมถึงการร้องขอใช้เทคนิคพิเศษในการแสวงหาพยานหลักฐานในกรณีฉุกเฉิน และขาดมาตรการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ ทำให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติในการใช้อำนาจแสวงหาพยานหลักฐานโดยเทคนิคพิเศษ ควรปรับปรุงโดยการบัญญัติหลักเกณฑ์การให้อำนาจแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ให้ชัดเจน รวมถึงกำหนดบทกำหนดโทษแก่ผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรการแสวงหาพยานหลักฐานโดยเทคนิคพิเศษ กับทั้งบัญญัติให้มี การใช้เทคนิคพิเศษในกรณีฉุกเฉินและกำหนดหลักเกณฑ์ในการตรวจสอบการใช้อำนาจด้วยเทคนิคพิเศษ ดังกล่าว เพื่อให้การแสวงหาพยานหลักฐานด้วยเทคนิคพิเศษของพนักงานเจ้าหน้าที่เกิดประสิทธิภาพ และส่งผลกระทบกระเทือนต่อสิทธิเสรีภาพของผู้เกี่ยวข้องน้อยที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพยานหลักฐานคดีอาญาth_TH
dc.subjectการค้ามนุษย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการแสวงหาพยานหลักฐานคดีการค้ามนุษย์ด้วยเทคนิคพิเศษth_TH
dc.title.alternativeLegal measures for obtaining evidence in human trafficking cases by special techniquesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study is to examine concepts, definitions, types and characteristics of human trafficking cases under The Anti-Human Trafficking Act, B.E. 255, to study the legal basis for seeking evidence in the case of trafficking in persons by special techniques under The Anti-Human Trafficking Act, B.E. 2551 comparing with legal measures for obtaining evidence of human trafficking cases sspecialized by US, United Kingdom and Germany Laws, to analyze the legal issues related to seeking evidence in the case of trafficking by special techniques and to propose the solutions of seeking evidence in the case of trafficking by special techniques under The Anti-Human Trafficking Act, B.E. 2551. This research is a qualitative study focusing on documentary, carried out by collecting data from law texts, journal articles, research, dissertations, Supreme Court rulings and electronic media related to the seeking of evidence by special techniques in human trafficking cases. However, This research found that The Anti-Human Trafficking Act, B.E. 2551 does not require the competent official to be a civil servant of class III which appointed as an officer under the Criminal Procedure Code, this Act does not cover the use of special techniques in seeking emergency evidences and lack of measures to control competent authority, legal enforcement and no punishment for violators enforcing special techniques. Furthermore, It should be improved by amendment the rules of competent officer authority along with imprisonment for violators officer in seeking evidence by special techniques and may transform the minor to decrease the impact of freedom.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_158607.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons