Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9166
Title: ปัญหาการให้บริการของศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2
Other Titles: Problems of services in english resource and instruction at centers in secondary school in Suphanburi Educational Area Zone II / Problems of services in English resource and instruction at centers in secondary school in Suphanburi Educational Area Zone
Authors: ศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษา
ธาริณี ผูกอยู่, 2520-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณี
ภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สุพรรณบุรี
ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอน--ไทย--สุพรรณบุรี
การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
Issue Date: 2551
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโคกสำโรงวิทยา จังหวัดลพบุรี ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความ ก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโคกสำโรงวิทยา จังหวัดลพบุรี ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ คำประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ความน่าจะเป็น มีประสิทธิภาพ 71.89/70.32 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 70/70 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไนระดับมาก
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9166
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118672.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons