กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9175
ชื่อเรื่อง: วิเคราะห์ข้อมูลการจัดเก็บภาษีอากร : ของสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 10
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The analysis of a collecting taxation : a case study Bangkok Area Revenue Office 10
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สุขุมาลย์ ชำนิจ,อาจารย์ที่ปรึกษา
พลภูมิ สังข์สุวรรณ, 2514-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
การจัดเก็บภาษี--ไทย--กรุงเทพฯ
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
วันที่เผยแพร่: 2554
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ (1) ปัจจัยภายในที่มีอิทธิพลต่อผลการจัดเก็บภาษี อากรของสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 10 (2) ปัจจัยภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการจัดเก็บภาษีอากร สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 10 (3) เสนอแนะแนวทางในการวางแผนเกี่ยวกับการจัดเก็บ ภาษีอากรของสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 10 รูปแบบวิธีการศึกษาเป็นการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิ แบบอนุกรมเวลา ปีงบประมาณ 25512553 จากการยื่นแบบเสียภาษีของผู้ประกอบการในท้องที่ โดยใช้สถิติ เชิงพรรณนา หาค่าสัดส่วน ความกี่และ ร้อยละของข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป และนำค่าของข้อมูลหาความสอดคล้องวิเคราะห์กับ ตำราเรียน เอกสารทางวิชาการ บทความ ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยภายในของสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 10 คือ ผู้ประกอบการที่มีขนาดรายรับขนาดกลางถึงขนาดใหญ่มาก และมีทุนจดทะเบียนขนาดย่อมถึงขนาดใหญ่ มีจำนวนประมาณ 500 ราย เป็นรายผู้ประกอบการที่มีสัดส่วนต่อผลการจัดเก็บภาษีอากรที่สูง และมีผลกระทบต่อประมาณการจัดเก็บภาษีอากรสูง หากรายผู้ประกอบการกลุ่มนี้ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี ย้ายสถานประกอบการ เลิกกิจการ หรือควบรวมกิจการ (2) ปัจจัยภายนอก คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ มีอิทธิพลต่อผลการจัดเก็บภาษีอากรด้วยรายผู้ประกอบการในห้องที่มีลักษณะกิจการที่สัมพันธ์กับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่มุ่งพัฒนาด้านภาคการผลิตและบริการโดยอัตราการขยายตัวหรือหดตัว ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ในกลุ่มกิจการ อสังหาริมทรัพย์ การท้าส่ง ท้าปลีก และการเป็นตัวกลางทาง การเงิน มีอิทธิพลต่ออัตราการขยายตัวสูง และมีอิทธิพลต่อรายผู้ประกอบการในท้องที่มาก เพราะเป็นกลุ่ม กิจการหลักในท้องที่ ผลการจัดเก็บภาษีอากรจึงมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันลับผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศปีงบประมาณ 2551-2553 (3) ในการวางแผนการดำเนินการให้ผลจัดเก็บภาษีไต้ตามประมาณการ ควรวิเคราะห์แนวโน้มผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ด้านอัตราการขยายตัวของกิจการประเภท อลังหาริมทรัพย์การท้าส่ง ท้าปลีก และการเป็นตัวกลางทางการเงิน ตลอดจนนโยบายภาครัฐในการส่งเสริม ธุรกิจทั้ง 3 ประเภท โดยวางแผนให้สัมพันธ์กับแผนการปฏิน์ติงานที่กรมสรรพากรกำหนด
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9175
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_132429.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.7 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons