Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9176
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาณินี กิจพ่อค้า | th_TH |
dc.contributor.author | ณคุณ ศรีดุษฎี, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-28T08:01:41Z | - |
dc.date.available | 2023-08-28T08:01:41Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9176 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงระบบการพิจารณาคดีอาญาของศาล เพื่อให้การพิจารณาคดีเป็นไปอย่างเหมาะสม และสามารถอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนได้นำไปสู่การเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขว่าศาลควรจะมีอำนาจในการค้นหาความจริงด้วยตนเองมากน้อยเพียงใด เพื่ออำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน และป้องกันการดำเนินคดีแบบสมยอมกัน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาค้นคว้าและรวมรวมข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยเอกสารโดยการศึกษาค้นคว้าจากตำราหนังสือทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ ตลอดจนศึกษาข้อมูลจากสื่อสารสนเทศ บทบัญญัติของกฎหมาย คำพิพากษาฎีกา วิทยานิพนธ์ งานวิจัย เอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประเทศอังกฤษ และฝรั่งเศส ผลการศึกษาพบว่า การที่ศาลใช้ระบบกล่าวหา ในการพิจารณาคดีอาญา ทำให้การค้นหาความจริงมีข้อจำกัด เนื่องจากหากศาลถูกจำกัดอำนาจในการค้นหาความจริง จะส่งผลให้คู่ความอาจดำเนินคดีแบบสมยอมกัน โดยไม่นำสืบข้อเท็จจริงบางเรื่องที่เป็นเรื่องสำคัญในการพิจารณาคดี แม้จะมีพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ และทนายความที่มีส่วนในการนำสืบข้อเท็จจริงก็ตาม แต่หากมีการตกหล่นในการสืบข้อเท็จจริงบางเรื่อง จะทำให้การพิจารณาคดีไม่มีประสิทธิภาพในการอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน ซึ่งข้อเท็จจริงในคดีย่อมมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพิจารณาคดีอาญา เนื่องจากเป็นคดีที่มีโทษเกี่ยวกับอิสรภาพของบุคคล จึงเห็นควรให้ค้นหาความจริงสามารถทำได้อย่างกว้างขวาง โดยใช้ระบบไต่สวนเข้ามาผสมผสานกันมีส่วนร่วม ในการพิจารณาคดีมากยิ่งขึ้นทำให้มีศาลเข้ามามีบทบาทในการค้นหาความจริงร่วมกับพนักงาน อัยการ และทนายความ ทำให้สามารถพิสูจน์ข้อเท็จจริงในคดีได้ชัดเจนมากขึ้น แต่ต้องจำกัดอำนาจของศาลบางประการเพื่อทำให้การพิจารณาคดีไม่เอียนเอียงเข้าฝ่ายใด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การไต่สวนมูลฟ้อง | th_TH |
dc.subject | การสืบสวนคดีอาญา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | การนำระบบไต่สวนมาใช้ในการพิจารณาคดีอาญาของศาลทั่วไป | th_TH |
dc.title.alternative | Inquisitorial system with the criminal proceedings in the courts of justice of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent study aims to adjust the process of Thai Court’s criminal proceedings to render it more appropriate and at the same time make it the true symbol of justice to all people. It proposes to what extent the Court should have its own authority to seek the truth by itself allowing Justice to all the people and simultaneously prevent the consensual indictment. This independent study employs qualitative research mainly by documentary research focusing on the accumulation of data from both domestic and international resources along with the information archive that includes the provision, verdicts, theses, research, and other relevant resources such as that of England and French. The research finds that the Court’s use of accusatorial system to consider each criminal case renders the seeking of truth limited. If the Court’s power is limited to seek the truth, such limitation may lead the party to be consensual upon the inquisitorial process by neglecting some important facts which are essential to such process. Although there is an interrogator, attorney, and lawyer, if some facts are deliberately ignored, the inquisitorial process cannot be deemed truly justified and effective to bring justice to the people. In fact, the truth in each case is crucial in the criminal proceedings since the case is intertwined with one’s freedom. Thus, seeking of truth should be combined with employing inquisitorial system. Such amalgamation will allow more flexibility for the Court to work closely with an attorney and lawyer. The trial process, in this light, will be more transparent but it should be noted that some limitations of the Court’s authority must be still imposed to prevent every possible form of consensual cases. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_159577.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License