Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9184
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถํ้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีรยุทธ สุทธิวารี, 2529- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T08:34:01Z-
dc.date.available2023-08-28T08:34:01Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9184en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความเป็นมา แนวคิด สาเหตุ ของการกระทำความผิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการลงโทษ แนวทางการแก้ไขบำบัดฟืนฟู รวมทั้งมาตรการพิเศษ แทนการดำเนินคดีอาญาที่นำมาใช้กับเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิด เพื่อเป็นการเบี่ยงเบน หรือหันเหคดีออกจากกระบวนการยุติธรรมหลักนำไปสู่กระบวนการยุติธรรมทางเลือกที่เป็นการยุติคดีโดยไม่ต้องมีการพ้องร้องคดีต่อศาล และยังเป็นการหาแนวทางและวิธีการในการแก้ไขปัญหา การกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถกลับตนเป็นคนดีและสามารถ อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยจากเอกสาร ซึ่งผู้ศึกษาได้ทำการรวบรวมจากหนังสือ ตำรา บทความ วิทยานิพนธ์สาระนิพนธ์งานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ตัวบทกฎหมาย รวมตลอดถึงข้อมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่ามาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามกฎหมายว่าด้วยศาลเยาวชน และครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว ยังมีปัญหาเรื่องการตรวจสอบประวัติเด็ก และเยาวชนที่กระทำความผิดก่อนมีจัดทำแผนยังไม่ชัดเจน ปัญหาอำนาจในการพิจารณาการเข้าสู่ กระบวนการจัดทำแผน และปัญหาเกี่ยวกับบทบัญญัติกฎหมายที่ไม่ได้กำหนดลักษณะและประเภทคดี ผู้ศึกษาจึงขอเสนอให้มีการบัญญัติเพี่มเติมในเรื่องของกระบวนการและขั้นตอนของการตรวจสอบ ประวัติเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดให้ชัดเจนเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาในการเข้าสู่ กระบวนการจัดทำแผนตามมาตรา 86 บัญญัติเพิ่มเติมเรื่องให้บุคคลในครอบครัวของเด็กและเยาวชน ที่กระทำความผิด ผู้นำท้องที่หรือผู้นำชุมชนเข้ามามีอำนาจร่วมในการพิจารณาการเข้าสู่กระบวนการ จัดทำแผนตามมาตรา 86 และการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับการกำหนดลักษณะ และประเภทคดีในการนำมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีมาใช้ตามมาตรา 90th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผิดในคดีเด็กและเยาวชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleมาตรการพิเศษในการแก้ไขปัญหาการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนth_TH
dc.title.alternativeSpecial measures in solving the problems of juvenile delinquencyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study has the objectives to examine the background, concepts, causes of law violation, theories on penalties, practices on rehabilitation including the special alternative measures substituting criminal prosecution of juvenile offender which can deviate or alternate the course of the standard justice system to alternative judicial measures which can finalise the case without prosecution and can also find ways and measures in solving problems on juvenile delinquency in order to ensure that they can reform and peacefully reintegrate into the society. This independent study was conducted by way of a qualitative research through studying of documents which were compiled by the author from textbooks, articles, thesis, dissertations, researches, academic journals, legislations and information from other electronic sources. The study revealed that there are existing problems on the special alternative measures to criminal prosecution under the Juvenile and Family Court and Procedure in respect of the uncertain profile examination processes of juvenile offender prior to the preparation of societal reintegration plan, problems relating to the authority in preparing the societal reintegration plan and problems on the legislation which does not stipulate the characteristic and type of the eligible cases. The author hereby proposes that the procedures and methods of the profile examination of juvenile offender be clarified for the purpose of preparing the societal reintegration plan pursuant to Section 86. The particular provision shall grant the authority to the family members of the juvenile offender, the local governor or community leader to participate in the consideration process of the societal reintegration plan under Section 86. Moreover, the amendment should be made to the provision relating to the characteristics and types of the cases to which the special alternative measures can be implemented pursuant to Section 90.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_159579.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons