Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9188
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจth_TH
dc.contributor.authorเพ็ญโสภา แพรกทองth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-28T08:50:44Z-
dc.date.available2023-08-28T08:50:44Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9188en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อคุณภาพการบริการ ของธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) (2) ระดับคุณภาพการให้บริการของธนาคาร ชีไอเอ็มปี ไทย จำกัด (มหาชน) การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาจากประชากรจำนวน 6,000 คน ที่เข้ามารับบริการตั้งแต่เดือน กันยายน -เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 จากการสุ่มลูกค้าที่มากดคิวทุกๆ 5 คิว ซึ่งเป็นลูกค้าของธนาคาร ชีไอเอ็มปี ไทย จำกัด (มหาชน) สาขาสำเพ็ง เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มเป็นระบบ โดยตัวอย่างลูกกำหนด ความเชื่อมั่น 95% และให้ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5% โดยใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของ ทาโร ยามาเน ทำให้ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) ลูกค้าของธนาคาร ชีไอเอ็มปี ไทย จำกัด (มหาชน) สาขาสำเพ็ง ที่มี เพศและสถานภาพสมรสต่างภันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพการบริการไม่แตกต่างกัน ส่วนอายุ ระดับ การศึกษา อาชีพ และรายได้ต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพการบริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 (2) ระดับคุณภาพการบริการของธนาคารชีไอเอ็มปี ไทย จำกัด (มหาชน) สาขาสำเพ็ง ลูกค้ามีทัศนคติต่อคุณภาพการบริการของธนาคารชีไอเอ็มปี ไทย จำกัด (มหาชน) อยู่ในระดับที่มาก โดย คุณภาพการบริการด้านความมีมารยาทของพนักงานธนาคารมีระดับสูงสุด อันดับรองลงมาคือ ความสามารถของพนักงานธนาคาร และห้อยที่สุดคือ ช่องทางการส่งข่าวสารให้ลูกค้าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารและการธนาคาร--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการบริการของธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeService quality of CIMB Thai Bank Public Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study : (1) personal factors affecting the service quality of CIMB Thai Bank Public Company Limited and (2) the service quality level of CIMB Thai Bank Public Company Limited. This study was conducted in the population of 6,000 customers recieving service from September to November in the year 2011 by randomization of every 5 customer in queing of CIMB Thai Bank Public Company Limited in Sampeng Branch.The sampling was a systematic random sampling. The sampling was set confidence level at 95% with deviation not exceeding 5% by using a formula to calculate the sample size of Taro Yamane, making the total samples of 400 customers. The statistics used to analyze data included percentages, averages, standard deviation and t-test. The results showed that (1) The customers of CIMB Thai Bank Public Company Limited in Sampeng Branch with different gender and marital status had no different opinion on the quality of service while different age, education level, occupation and income had different opinion on the quality of service statistical significanted at the level of 0.05, and (2) for the service quality level of CIMB Thai Bank Public Company Limited in Sampeng Branch, the customers had attitude towards the CIMB Thai Bank Public Company Limited's service level at the high level, The service quality us, the courtesy of the bank staff was at the highest level followed by the ability of bank staff. The lowest level was Channel of delivery news to the customers.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_127698.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons