Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนัตถพงษ์ บุญภูมิ, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T03:03:51Z-
dc.date.available2023-08-29T03:03:51Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9206-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อนิทรรศการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูอาจารย์ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่มาเยี่ยมชมนิทรรศการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต จำนวน 300 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อนิทรรศการทั้ง 15 นิทรรศการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายนิทรรศการพบว่า ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกนิทรรศการ โดยนิทรรศการที่ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจมากที่สุด 3 ลำดับแรก คือ (1) นิทรรศการเทคโนโลยีการเกษตร (2) นิทรรศการเทคโนโลยีการสื่อสารกับชีวิตประจำวัน และ (3) นิทรรศการวิทยาศาสตร์การกีฬา เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน ดังนี้ (1) ด้านรูปแบบการจัดนิทรรศการพบว่า ข้อที่ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ สีสันที่ใช้ในการจัดนิทรรศการดึงดูดความสนใจได้ดี (2) ด้านเนื้อหาการให้ความรู้ทางวิชาการ พบว่า ข้อที่ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ความน่าสนใจของเนื้อหานิทรรศการ และ (3) ด้านการอำนวยความสะดวก พบว่า ข้อที่ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ความชัดเจนของแผนผังป้ายบอกโซนต่างๆ ภายในนิทรรศการ และ การให้บริการของวิทยากรในการให้ความรู้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อนิทรรศการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิตth_TH
dc.title.alternativeThe satisfaction of service users with exhibitions of Rangsit Secience Center for Educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the satisfaction of service users with the exhibitions of Rangsit Science Centre for Education. The employed research sample consisted of 300 teachers, students and the general public who visited and viewed the exhibitions of Rangsit Science Centre for Education, obtained by incidental sampling. The employed research instrument was a questionnaire on satisfaction of service users. Statistics for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall satisfaction of service users with the 15 exhibitions of Rangsit Science Centre for Education was at the high level. When satisfactions with specific exhibitions were considered, it was found that all exhibitions were satisfied at the high level. The exhibitions receiving top three satisfaction levels were (1) Agricultural Technology Exhibition, (2) Communications Technology for Daily Life Exhibition, and (3) Sports Science Exhibition. When specific aspects of the exhibitions were considered, it was found that the satisfactions were at the high with all aspects and could be elaborated as follows: (1) on the format of the exhibitions, it was found that the service users were most satisfied with the attractiveness of the colors used in the exhibitions; (2) on the academic content aspect, it was found that the service users were most satisfied with the exhibition contents being interesting; (3) on the facilitation aspect, it was found that the service users were most satisfied with the clarity of the signposts showing different zones of the exhibitions and with the service of resouce persons in transmission of knowledge.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148213.pdf18.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons