Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9211
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ ศรีดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิทยาธร ท่อแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิโรธร มีปราชญ์สม, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T03:21:19Z-
dc.date.available2023-08-29T03:21:19Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9211-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในรูปแบบแฟลชม็อบของนักศึกษาเกี่ยวกับ 1) กระบวนการสื่อสาร และ 2) การจัดการการสื่อสาร ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการสื่อสารประกอบด้วย (1) ผู้ส่งสาร เป็นผู้ที่มีหน้าที่ในการชุมนุมแฟลชม็อบของนักศึกษาโดยตรง ประกอบด้วยแกนนํานักศึกษา ทีมงานฝ่ายประชาสัมพันธ์ผู้ปราศรัยซึ่งมาจากสมาชิกของกลุ่มที่มีภาพลักษณ์ที่ดี มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชน ความหลากหลายทางเพศ มีเชื่อมันในระบอบประชาธิปไตยสากล มุ่งต่อต้านระบอบเผด็จการ เป็นผู้ที่มีทักษะการพูดในที่ชุมชน มีนํ้าเสียงและลีลาการพูดที่ ดึงดูดใจผู้รับสาร มี ความเข้าใจในเทคโนโลยีที่ นํามาใช้ในการสื่อสาร (2) สาร มีประเด็นหลัก คือ ความเท่าเทียมกันทางสังคม สิทธิเสรีภาพ ผลเสียของ นายกรัฐมนตรีที่สืบทอดอํานาจมาจากเผด็จการ และการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ (3) ช่องทางการสื่อสาร ใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นช่องทางหลัก ได้แก่ เฟซบุ๊กเพจแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม เพจเยาวชนปลดแอก – Free YOUTH เพจเสรีเทยพลัสเพจ Mob Fest ทวิตเตอร์@ThammasatUFTD @FreeYOUTHth @MobFest_TH @freegender_th อินสตาแกรมthammasatuftd freeyouth.ig mobfest_th เทเลแกรม @THAMMASATUFTD REDEM และ REDEM: DISCUSSION(4) ผู้รับสารเป็นนักศึกษาที่สนใจในประเด็นการเมืองและข้อเรียกร้อง ซึ่งมีทั้งเป็นผู้ที่เข้าร่วมการชุมนุมและไม่เข้าร่วมการชุมนุม 2) การจัดการการสื่อสาร ประกอบด้วย (1) การศึกษาสภาพปัญหาการสื่อสาร ด้านช่องทางการเผยแพร่ข่าวสารการชุมชน ปัญหาสภาพแวดล้อมทางการเมือง คือ กระแสสนับสนุนการขับไล่นายกรัฐมนตรีและการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ (2) การวางแผนงานการสื่อสารก่อนจัดการชุมนุมโดยมุ่งเน้นการสื่อสารเพื่อสร้างการจดจําข้อเรียกร้องและการขยายผลการเผยแพร่ผานสื่อมวลชน การโน้มน้าวให้ ่กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการชุมนุม การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันการสลายการชุมนุม (3) การดําเนินการ มีการเผยแพร่สื่อเกี่ยวกับการนัดหมายการชุมนุมและข้อเรียกร้องเผยแพร่ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ มีการแจ้งทางราชการเพื่อชุมนุมในที่สาธารณะ ติดตั้งอุปกรณ์ เวที เครื่องเสียง และปราศรัย (4) ประเมินผลการตอบรับการเข้าร่วมชุมนุม หากจํานวนไม่เป็นไปตามเป้ าหมายจะเร่งระดมนักศึกษามาชุมนุมเพิ่มมากขึ้น หลังจากการ ชุมนุมแล้วมีการประเมินผลความพึงพอใจและข้อเสนอแนะทางออนไลน์ด้วย Google Formth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการสื่อสารทางการเมือง--ไทยth_TH
dc.subjectการชุมนุมสาธารณะ--ไทยth_TH
dc.subjectนักศึกษา--ไทย--กิจกรรมทางการเมือง.th_TH
dc.subjectกลุ่มผู้ชุมนุมth_TH
dc.subjectแฟลชม็อบ.th_TH
dc.titleการสื่อสารในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในรูปแบบแฟลชม็อบของนักศึกษาth_TH
dc.title.alternativeCommunication for social movements in student “flash mobs” modelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study communication for social movements in student “flash mobs” model regardings 1) the communication process; and 2) communication management. This was a qualitative research using the in-depth interview method. The key informants, chosen through purposive sampling, were five student leaders who were involved with managing flash mobs. The research tool was a semi-structured interview form. Data were analyzed deductively to draw conclusion. The results showed that 1) The communications process consisted of (1) the message senders were people directly involved in the flash mobs, including students, the public relations team, and speakers, who were team members with good images, knowledge and expertise in human rights, represented gender diversity, believed in democracy, were intent on opposing autocracy, had good public speaking skills, had appealing voices and gestures, and had a good understanding of communications technology; (2) The messages were mostly about social equality, rights and liberty, the drawbacks of having a prime minister who originally came from a coup d’état, and reform of the royal institution; (3) for communication channels, the group mainly used social media such as Facebook, the United Front of Thammasat webpage, the Free YOUTH webpage, the Free Gender page, the Mob Fest page, the Twitter accounts of @ThammasatUFTD, @FreeYOUTHth, @MobFest_TH, and @freegender_th, the Instagram accounts of thammasatuftd, freeyouth.ig and mobfest_th, and the Telegram accounts of @THAMMASATUFTD REDEM and REDEM: DISCUSSION; (4) the message receivers were students who were interested in politics, including students who joined flash mobs or protests and those who did not join. 2) Communication management consisted of (1) studying the condition of communication problems, channels for disseminating news about the flash mobs, and political atmosphere problems, i.e. the trend of support for deposing the prime minister and reforming the institution of the monarchy; (2) planning communications before organizing the flash mob with an emphasis on communications to build recognition of the students’ demands and expand dissemination in mass media, persuading target groups to join the flash mobs, and preparation of equipment to resist authorities’ attempts to break up the protest; (3) operations, with dissemination of messages and media about the dates, times and locations of flash mobs, dissemination of the demands on social media, notifying the authorities that public gatherings were planned, and setting up a stage with sound equipment; and (4) evaluation of the public response and participation, with plans to mobilize more students if turnout was disappointing, followed by post-event evaluation to assess satisfaction and glean recommendations online using Google Form in order to improve communications and make future events more successful.en_US
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168517.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons