Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9227
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิศาชล สูบผอม, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-29T04:32:17Z-
dc.date.available2023-08-29T04:32:17Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9227-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการอ่านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 383 คน. ได้มาโดยวิธี การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพ ปัญหา ความต้องการการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการอ่านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า สภาพ ปัญหา และความต้องการการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริม การอ่านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมาก 1 ด้าน และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน โดย (1) สภาพการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการอ่าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยนักเรียนดีใจมากถ้าครูให้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการอ่าน เป็นของขวัญเนื่องในโอกาสต่างๆ (2) ปัญหาการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยนักเรียนมีปัญหาในเรื่อง ความไม่เพียงพอของจำนวนอุปกรณ์สื่อการสอนเพื่อ ส่งเสริมการอ่าน และ (3) ความต้องการการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการอ่าน โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยนักเรียนมีความต้องการสมาร์ทโฟนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษาไทย--การอ่าน--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการอ่าน--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleสภาพปัญหาความต้องการการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการอ่านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12th_TH
dc.title.alternativeThe state, problems and needs for educational media to promote reading for upper secondary students in schools under Secondary Education Service Area Office 12en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to study the state, problems and needs for using instructional media to promote reading of upper secondary students in schools under the Secondary Education Service Area Office 12. The research sample consisted of 363 upper secondary students in schools under the Secondary Education Service Area Office 12 during the first semester of the 2017 academic year, obtained by simple random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the state, problems and needs for using instructional media to promote reading of upper secondary students. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall rating mean for the state, problems and needs for using instructional media to promote reading of upper secondary students in schools under the Secondary Education Service Area Office 12 was at the moderate level. When specific aspects were considered, one aspect received the rating mean at the high level, while the other two aspects received the rating mean at the moderate level, with further elaboration as follows: (1) the overall rating mean for the state of using instructional media to promote reading was at the moderate level, with the item that the students will be very glad if the teacher gives them instructional media to promote reading receiving the top rating mean; (2) the overall rating mean for the problems of using instructional media to promote reading was at the moderate level, with the item that the students have problems of insufficiency of instructional media receiving the top rating mean; and (3) the overall rating mean for the needs for using instructional media to promote reading was at the high level, with the item that the students need smart phones receiving the top rating mean.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159128.pdf12.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons