Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9231
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณวิภา เมืองถ้ำ | th_TH |
dc.contributor.author | ทรงเดช บุญธรรม, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-29T06:27:42Z | - |
dc.date.available | 2023-08-29T06:27:42Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9231 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาที่มา แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายที่ใช้ในการพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (2) ศึกษากฎหมายที่ใช้ในการพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในประเทศไทยและต่างประเทศ (3) ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายที่ใช้ในพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (4) ศึกษาและเสนอแนะวิธีการและแนวทางการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่ใช้ในพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยจากเอกสาร โดยผู้ศึกษาได้รวบรวมข้อมูลจาก กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ข้อกำหนด เอกสารราชการ และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับกฎหมายที่ใช้ในการพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ผลการศึกษาพบว่า (1) การพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยไม่ต้องกระทำต่อหน้าจำเลยสามารถกระทำได้ภายใต้หลักการและเงื่อนไขการคุ้มครองสิทธิของจำเลยทำนองเดียวกับหลักการสากลในการพิจารณาคดีโดยไม่มีตัวจำเลย (Trial in Absentia) เพื่อการแก้ไขปัญหาความล่าช้าในการพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง(2)พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 192 เป็นกฎหมายย้อนหลังซึ่งมีผลให้บุคคลต้องรับโทษจากการกระทำที่กฎหมายซึ่งบัญญัติขึ้นในภายหลังมิได้กำหนดให้เป็นความผิดต่อไปและประโยชน์ที่สาธารณะได้รับจากการใช้กฎหมายดังกล่าวย้อนหลังไม่มีคุณค่ามากพอที่จะทำลายคุณค่าของหลัก นิติรัฐ (3)ในการอุทธรณ์คำพิพากษาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง องค์คณะวินิจฉัยอุทธรณ์มีสถานะทางตุลาการสูงกว่าองค์คณะชั้นต้น เสมือนเป็นศาลที่สูงกว่า จึงมิใช่การทบทวนคำพิพากษาโดยศาลชั้นเดียวกันแต่ระบบการอุทธรณ์ที่ให้สิทธิแก่คู่ความอุทธรณ์คำพิพากษาได้โดยไม่มีขอบเขตจำกัด ส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของคำพิพากษาและอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ได้รับผลจากคำพิพากษานั้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กระบวนการยุติธรรมทางอาญา | th_TH |
dc.subject | กฎหมายอาญาเปรียบเทียบ | th_TH |
dc.subject | นักการเมือง--คดีอาญา | th_TH |
dc.title | ปัญหาทางกฎหมายในการพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเปรียบเทียบกฎหมายที่ใช้ในการพิจารณาคดีอาญาของศาลต่างประเทศ | th_TH |
dc.title.alternative | Legal issues in the trial of the supreme court's criminal division for persons holding political positions of Thailand compare with the trial of the foreign courts | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this Independent Study is to (1) study the background, concepts and theories related to the laws applied to criminal proceedings for persons holding political positions (2) study the laws applied to criminal proceedings for persons holding political positions in Thailand and abroad (3) study problems related to laws applied to criminal proceedings for persons holding political positions and (4) study and suggest methods and guidelines for amending laws used in criminal proceedings for persons holding political positions. This Independent Study is qualitative research by means of documentary analysis. The author has gathered information from laws, regulations, announcements, rules, official documents and other documents related to laws used in criminal proceedings for persons holding political positions. The result of this study shows that: (1) Criminal proceedings for persons holding political positions can be proceeded without the defendant presence under the principles and conditions of protection of the rights of the defendants, which is similar to the international principle of Trial in Absentia for preventing delay in the proceedings. (2) Section 192 of The Organic Law on the Prevention and Suppression of Corruption B.E. 2561 (2018) is a retrospective law that imposes a person punishable by law enacted after a crime is committed. The author finds that public interests gained from such retrospective application of the law is insufficient to undermine the value of the Rule of Law. (3) In the appealing process of criminal judgments for persons holding political positions, the appellate body has a higher judicial status than the primary body as it acts as a higher court. It is therefore not a revision of judgments by the same court. Furthermore, granting the parties the right to appeal judgments without limitation could impact the credibility of the judgments and may cause damages to those who are affected by the judgments. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_166517.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License