Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9249
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยฉัตร ล้อมชวการ | th_TH |
dc.contributor.author | กานต์ เชื้อวงศ์, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-29T07:57:01Z | - |
dc.date.available | 2023-08-29T07:57:01Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9249 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (การบูรณาการการสื่อสาร)--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องการรู้เท่าทันกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับการสื่อสารการตลาดจากผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2) ระดับการรู้เท่าทันกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3) เปรียบเทียบการรู้เท่าทันกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ของนักศึกษากลุ่มที่บริโภคและไม่บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ 4) ความสัมพันธ์ของการเปิดรับการสื่อสารการตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กับการรู้เท่าทันกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษา ผลการวิจัย 1) การเปิดรับการสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พบวา กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มคือทั้งกลุ่มที่บริโภคและกลุ่มที่ไม่บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีการเปิดรับการสื่อสารการตลาดจากผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระดับปานกลาง โดยสื่อที่เปิดรับสูงที่สุดได้แก่ (1) สื่อสังคมออนไลน์รองลงมาคือ (2) สื่อโฆษณาทางอินเทอร์เน็ต และ (3) สื่อที่วางตั้งแสดงสินค้าพิเศษในร้านค้า 2) นักศึกษากลุ่มที่บริโภคและกลุ่มที่ไม่บริโภคมีระดับการรู้เท่าทันกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับปานกลาง 3) การเปรียบเทียบระดับการรู้เท่าทันกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์พบว่า กลุ่มตัวอยางที่บริโภคมีการรู้เทาทันการสื่อสารการตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ระดับอารมณ์และความรู้สึกและระดับสุนทรียภาพน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่บริโภค ส่วนระดับการรับรู้และความเข้าใจและระดับศีลธรรมอยู่ในระดับเดียวกันกับกลุ่มที่ไม่บริโภค และ 4) การเปิดรับการสื่อสารการตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษากลุ่มที่บริโภคและกลุ่มที่ไม่บริโภค มีความสัมพันธ์กับการรู้เท่าทันกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้ง 4 ระดับได้แก่ (1) ระดับการรับรู้และความเข้าใจ (2) ระดับอารมณ์และความรู้สึก (3) ระดับสุนทรียภาพ และ (4) ระดับศีลธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การสื่อสารทางการตลาด | th_TH |
dc.subject | เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ | th_TH |
dc.title | การรู้เท่าทันกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Thepsatri Rajabhat University. Lopburi. students’ media literacy about the market communication strategies for alcoholic beverage products | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study: 1 ) students’ exposure to market communications about alcoholic beverages; 2) their level of media literacy regarding the market communication strategies used to sell alcoholic beverage products; 3) a comparison of the level of media literacy of students who drink alcoholic beverages and those who do not; and 4 ) the relationship between students’ exposure to market communications about alcoholic beverages and their level of media literacy regarding the market communication strategies used. This was a survey research. The study population was university students and a sample size of 400 was determined using the Taro Yamane formula. Samples were chosen using the quota method. The research tool was a questionnaire. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, t test, analysis of variance and chi square. The results showed that 1) both the group of students who drank alcoholic beverages and those who did not, had a medium level of exposure to market communications about alcoholic beverages. The medium they were exposed to the most was social media, followed by Internet ads and product displays in stores. 2) Both the group of students who drank alcoholic beverages and those who did not, had a medium level of media literacy about the market communication strategies used. 3) Students who drank alcoholic beverages had a lower level of media literacy in the aspects of feelings and emotions and aesthetics than did those students who did not drink alcoholic beverages. The level of media literacy in the aspects of awareness and understanding and morals were the same for both groups. 4) The level of exposure of both groups of students to the market communications was related to their level of media literacy in all aspects (awareness and understanding, feelings and emotions, aesthetics, and morals) to a statistically significant degree at level p<0.05. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | กมลรัฐ อินทรทัศน์ | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168511.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License