Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9279
Title: | คู่มือการจัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาลนอร์ทอีสเทอร์น-วัฒนา |
Other Titles: | Risk management manual of North Eastern-Wattana Hospital |
Authors: | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ ณัฐธิรา ตั้งสืบสกุล, 2521- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ |
Keywords: | ความเสี่ยง โรงพยาบาลนอร์ทอีสเทอร์น-วัฒนา--การบริหาร การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี. |
Issue Date: | 2555 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประเภทความเสี่ยงของโรงพยาบาล (2) ขั้นตอน การจัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาล และ (3) ออกแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความเสี่ยงของ โรงพยาบาลนอร์ทอีสเทอร์น-วัฒนา การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์จากผู้ปฏิบัติงานจากประสบการณ์จริงในการทำงานในโรงพยาบาลนอร์ท อีสเทอร์น-วัฒนาและข้อมูลทุติยภูมิจากข้อกำหนดมาตรฐานการจัดการระบบคุณภาพรวมทั้งเอกสารต่าง ๆ ของโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความเสี่ยง ผลการศึกษาพบว่า (1) ประเภทของความเสี่ยงของโรงพยาบาลมี 7 ประเภท คือ 1) ความเสี่ยง ด้านสิทธิผู้ป่วยจริยธรรมองค์กร 2) ความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน 3) ความเสี่ยงด้านการติดเชื้อในโรงพยาบาล 4) ความเสี่ยงด้านทรัพย์สินและอุปกรณ์ 5) ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของผู้ป่วย 6) ความเสี่ยงด้านการใช้ยา 7)ความเสี่ยงเกี่ยวกับการสื่อสาร(2) ขั้นตอนการจัดการความเสี่ยงของ โรงพยาบาลมี 7 ขั้นตอนดังนี้ 1) ผู้บริหารระดับสูง กำหนดนโยบายการจัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาล 2) กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ในการจัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาล 3) กำหนดตัวชี้วัด ในการจัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาล 4) กำหนดโครงสร้างการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาล 5) การจัดทำคู่มือปฏิบัติ 6) การปฏิบัติตามคู่มือ 7) การทบทวนคู่มือและประเมินผลการจัดการความเสี่ยง (3) การออกแบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาลจำนวน 4 แบบฟอร์ม คือ 1) แบบฟอร์ม การรายงานอุบัติการณ์ 2) แบบฟอร์มสรุปมาตรการแนวทางและแผนการปฏิบัติ 3) แบบบันทึกการทำการทบทวนเหตุการณ์ขณะผู้ป่วยยังรักษาพยาบาล 4) แบบฟอร์มการทบทวน อุบัติการณ์โดยใช้การวิเคราะห์รากเหง้าของปัญหาโดยใช้ลำดับเวลาของเหตุการฟ้ซ็งการใช้แบบฟอร์ม เหล่านี้เบื้องด้นช่วยในการนำระบบจัดการความเสี่ยงสู่ภาคปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพยี่งขึ้นเนื่องจากช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติ |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9279 |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
137360.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License