Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9283
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณิชากร บุญบุรี, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-30T06:51:33Z-
dc.date.available2023-08-30T06:51:33Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9283-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เขตตรวจราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ 15 (2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานส่งเสริม พัฒนา สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม สหกรณ์เขตตรวจราชการกรมล่งเสริมสหกรณ์ที่ 15 จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทาง ในการเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฏิบัติงานส่งเสริมพัฒนา สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม สหกรณ์เขตตรวจราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ 15 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ที่ปฏิบัติงานแนะนำส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในเขตตรวจราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ 15 จำนวน 212 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยวิธี ทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 139 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างมีระบบ เครี่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ชึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.945 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบเป็นรายคู่ ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เขตตรวจราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ 15 มากที่สุดคือ ด้านโอกาสความก้าวหน้า ของบุคลากร รองลงมาคือ ด้านความยุติธรรมจากผู้บังคับบัญชาและผู้บริหารในหน่วยงาน และ ด้านการใช้ทรัพยากรในองค์การอย่างคุ้มค่าตามลำดับ (2) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เขตตรวจราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ ที่ 15 ที่มี อายุ ตำแหน่ง ประสบการณ์ในการทำงาน และรายได้ต่อเดือน ที่ต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้าง ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานส่งเสริมพัฒนา สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เขตตรวจราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ 15 ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชาควรส่งเสริม การสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ด้านโอกาสความก้าวหน้าของบุคลากร ด้านความยุติธรรมจากผู้บังคับบัญชาและผู้บริหารในหน่วยงาน และ ด้าน การใช้ทรัพยากรในองค์การอย่างคุ้มค่าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการทำงาน--การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleประสิทธิภาพการปฏิบัติงานส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เขตตรวจราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ 15th_TH
dc.title.alternativeEffective performance of Officers of Cooperative Promotion Department 15en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were to: (1) investigate factors affecting performance efficiency of cooperative promotion officers in promoting, supporting and developing cooperative businesses and agriculturalist groups, auditing region of cooperative promotion department 15; (2) compare the officers’ performance efficiency among their personal qualities; and (3) recommend a guideline for enhancing the officers’ promotion performance efficiency in auditing region of cooperative promotion department 15. The sampling group of the study was 139 from 212 cooperative promotion officers in the cooperative promotion department 15; randomed by Taro Yamane’s method. Questionaire with 0.949 reliability was employed as data collecting device. Data analysis were statistically processed by mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA variance and significant pair test. The findings revealed three main significances: (1) the factors affecting the officers’ performance efficiency from the most to the least respectively were opportunities for officers’ working promotion, justice from organization executives, and optimum use of organization resources; (2) the officers’ different ages, positions, working experience, and monthly salary had an influence on different performance efficiency at 0.05 level; and (3) for cooperative promotion and development, the recommended guideline was concluded that the executives in cooperative promotion offices were expected to support incentives and encourage the cooperative promotion officers by providing opportunities for higher promotion, justice, and optimum use of resources.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140999.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons