Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9289
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ เข็มทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐกานต์ พุทธรักษ์พงศ์, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-30T07:18:33Z-
dc.date.available2023-08-30T07:18:33Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9289-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคสินค้าสตาร์บัคส์ โดยวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาระดับการรับรู้ต่อส่วนประสมการตลาดของร้านกาแฟสตาร์ บัคส์โดยวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร (3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับ พฤติกรรมการบริโภคสินค้าสตาร์บัคส์โดยวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร และ (4) วิเคราะห์ความ แตกต่างของระดับการรับรู้ต่อส่วนประสมการตลาด ตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาคือกลุ่มวัยรุ่นที่เคยบริโภคผลิตภัณฑ์ สตาร์บัคส์ในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุ 15-24ปี ขนาดกลุ่มตัวอย่างคำนวณโดยใช้สูตรการคำนวณ แบบไม่ทราบจำนวนประชากรของ Cochran ได้จำนวน 400 ตัวอย่าง ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบไคสแควร์ เพื่อทดสอบสมมติฐานที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์จากร้านกาแฟสตาร์บัคส์โดย ส่วนใหญ่คือ นิยมบริโภคเครื่องดื่มปั่นมากที่สุด วัตถุประสงค์หลักคือ ต้องการบริโภคเครื่องดื่ม ความถี่ในการบริโภค 1-2ครั้งต่อเดือน ค่าใช้จ่ายในการบริโภค 100-200 บาทต่อครั้งนิยมบริโภค วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 12.01 - 15.00 น. (2) ระดับการรับรู้ต่อส่วนประสมการตลาดต่อร้านกาแฟสตาร์บัคส์โดยส่วนใหญ่อยู่ในระดับมากในทุกด้าน (3) ปัจจัยส่วนบุคคล มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคสินค้าร้านกาแฟสตาร์บัคส์โดยวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ มีความสัมพันธ์กับประเภทสินค้าที่นิยมบริโภคอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดั บ0.05 และ(4) กลุ่มตัวอย่างที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุและอาชีพที่แตกต่างกัน มีระดับการรับรู้ต่อส่วนประสมการตลาดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectร้านกาแฟth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleพฤติกรรมการบริโภคและการรับรู้ปัจจัยส่วนประสมการตลาดของร้านกาแฟสตาร์บัคส์โดยวัยรุ่นในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeConsumer behavior and marketing mix perception on Starbucks Coffee Shop by teenagers in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study were: (1) to examine the consumption behavior of teenagers on Starbucks Coffee product in Bangkok; (2) to determine levels of teenagers’ perceptions of Marketing Mix factors on Starbucks Coffee Shop; (3) to analyze the differences in such marketing mix perceptions of individuals, which are affected by personal factors; and (4) to address the relationship between personal factors and individuals’ consumption of Starbuck products. The population was teenagers consumed products of “Starbucks Coffee Shop” in Bangkok. The sample was a total of 400 teenagers calculated by the Cochrane Formula, were selected by using convenience sampling method. The data was collected by applying the questionnaire. The data was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, as well as the t-test, F-test, and Chi-square test at the confidence level of 0.05 The results showed that: (1) most teenagers consumed products of “Starbucks Coffee Shop” in terms of Frozen drink. The frequency of purchasing tends to be 1-2 times per month and spent 100-200 baht each time. They mostly came on Saturday and Sunday in the afternoon during 12.01-3.00 PM.; (2) teenagers’ perceptions of Marketing Mix factors on Starbucks Coffee Shop were overall at the high level; (3) teenagers’ personal factors concerning gender, age, education levels, occupation, and income related to the popular products of Starbucks Coffee Shop at the statistically significant 0.05 level.; and (4) There was a statistically significant difference between marketing mix factors perception and personal factors in particular gender, age, and occupation at the statistically significant 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148506.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons