Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9292
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดลพร บุญพารอดth_TH
dc.contributor.authorณภาภัช ทัณทะรักษ์, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-30T07:27:56Z-
dc.date.available2023-08-30T07:27:56Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9292en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรสายงานสนับสนุนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดในเขตศูนย์ปฏิบัติการด้านแรงงานสัมพันธ์ ภาคกลาง (2) ศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรสายงานสนับสบุนของสำนักงาน สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดในเขตศูนย์ปฏิบัติการด้านแรงงานสัมพันธ์ภาคกลาง จำแนกตาม คุณลักษณะส่วนบุคคล (3) เสนอแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงาน สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดในเขตศูนย์ปฏิบัติการต้านแรงงานสัมพันธ์ภาคกลาง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลบุคลากรสายงานสนับสนุนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดในเขตศูนย์ปฏิบัติการต้านแรงงานสัมพันธ์ภาคกลาง จำนวน 18 จังหวัด และใช้ประชากรทั้งหมดเป็นตัวอย่างในการศึกษา จำนวน 159 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนทางเดียวและ การทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรสายงานสนับสนุนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดในเขตศูนย์ปฏิบัติการด้าน แรงงานสัมพันธ์ภาคกลางมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยอยู่ในระดับมาก 5 ด้าน ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน/ผู้ใต้บังคับบัญชา ด้านผู้บังคับบัญชา ด้านงานที่รับผิดชอบ ด้านนโยบายกรม/หน่วยงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามลำดับ และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ต้าน ได้แก่ ด้านโอกาสความก้าวหน้า และด้านผลตอบแทน ตามลำดับ (2) การเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทำงานโดยภาพรวม พบว่า อายุ ระยะเวลาในการทำงาน วุฒิการศึกษา รายไต้ตำแหน่งบัจจุบัน มีความพึงพอใจไม่แตกต่างกัน ส่วนจำแนกตามเพศ พบว่า มีความพึงพอใจในการทำงาน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) แนวทางในการเพึ่มประสิทธิภาพในการทำงานควรมีการ พิจารณาเลื่อนขั้น เลื่อนเงินเดือน เป็นไปด้วยความยุติธรรม จัดให้มีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกพร้อมใช้งานอยู่เสมอ จัดจำนวนบุคลากรเพียงพอเหมาะสมกับภารกิจฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรอย่างสม่ำเสมอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.titleความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรสายงานสนับสนุนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดในเขตศูนย์ปฏิบัติการด้านแรงงานสัมพันธ์ภาคกลางth_TH
dc.title.alternativeJob satisfaction of supports officers in Labour Protection and Welfare Office of the Central Region Labour Relation Centeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the level of job satisfaction of Support Officers in Labour Protection and Welfare Office of the Central Region Labour Relation Center; (2) to compare the job satisfaction of Support Officers in Labour Protection and Welfare Office of the Central Region Labour Relation Center, classified by personal characteristics; and (3) to propose the guidelines for efficiency developing of human resource management of Labour Protection and Welfare Office of The Central Region Labour Relation Center. The samples of this survey research consisted of the whole population which were 159 officers from 18 provinces working in Labour Protection and Welfare Office of the Central Region Labour Relation Center. The questionnaire was the instrument. The statistics employed for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and Least Significant Difference. The results revealed that (1) the job satisfaction of Support Officers in Labour Protection and Welfare Office of the Central Region Labour Relation Center was overall at a high level, while the individual aspect of olleague/subordinate, commander, responsibility of work, policy, and environment of work were at a high level, and advancement opportunity and remuneration were at a moderate level; (2) the comparison of job satisfaction of Support Officers which different age, duration of working, educational level, salary and present position had no difference level of job satisfaction. The Support Officers which different gender, had difference level of job satisfaction, with a statistically significant at 0.05 level; and (3) the guideline for efficient development related to impartially of salary system, to prepare equipment of work, to provide officers with their workload appropriately, and continue training and developing their officers regularly.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151753.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons