Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9324
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.advisor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.contributor.author | ณัชชา ชะรัดรัมย์, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-31T07:34:49Z | - |
dc.date.available | 2023-08-31T07:34:49Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9324 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการ กรมการปกครองจังหวัดบุรีรัมย์ (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการกรมการปกครอง จังหวัดบุรีรัมย์จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางการสร้างเสริมความผูกพัน ต่อองค์การของข้าราชการกรมการปกครองจังหวัดบุรีรัมย์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการกรมการ ปกครองจังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 260 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างได้จำนวน 158คน ตามสูตรของทาโร ยามาเน่ โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามระดับตำแหน่ง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ0.92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่าง เป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ความผูกพันต่อองค์การโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทั้ง 4 ด้าน เรียงตามลำดับ ดังนี้ ด้านความตั้งใจ ทุ่มเท ความสามารถในการทำงานเพื่อองค์การ ด้านความภาคภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งขององค์การด้านการยอมรับในค่านิยมนโยบายและเป้าหมายขององค์การและด้านความปรารถนาที่จะอยู่เป็นสมาชิกขององค์การ (2) บุคลากรของกรมการปกครองจังหวัดบุรีรัมย์ที่มีเพศและภูมิลำเนาแตกต่างกัน มีระดับ ความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรที่มี อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ สถานที่ ปฏิบัติงาน อายุราชการ และระดับตำแหน่งแตกต่างกัน พบว่า มีระดับความผูกพันต่อองค์การที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) แนวทางการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การ ของข้าราชการกรมการปกครองจังหวัดบุรีรัมย์คือ ผู้บริหารควรส่งเสริมด้านความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์การรับฟังปัญหาและความคิดเห็นในด้านการร่วมกันพัฒนาองค์การของข้าราชการกรมการ ปกครอง จังหวัดบุรีรัมย์ทุกคนทุกระดับตำแหน่งให้ทุกคนมีส่วนร่วม และเสริมสร้างกิจกรรม สานสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เกิดความรู้สึกเสมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ--ไทย--บุรีรัมย์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการกรมการปกครองจังหวัดบุรีรัมย์ | th_TH |
dc.title.alternative | Organizational commitment of officers at department of Provincial Administration Buriram Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study the organizational commitment of officers at department of Provincial Administration Buriram province; (2) to compare the organizational commitment of officers at department of Provincial Administration Buriram province by personal factors; and (3) to suggest guidelines for enhancing organizational commitment of officers at department of Provincial Administration Buriram province. This study was a survey research. The population consisted of 260 officers of Provincial Administration Buriram province the sample size was 158 officers calculated by Taro Yamane formula. Used in random stratified. The statistics used for data analysis were. A questionnaire was used in data collection with reliability value of 0.92. This research statistics are percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and least significant difference. The study indicates that: (1) the overall organizational commitment level of officers at the department of Provincial Administration, Buriram province was at the highest level. When considered all four aspects including dedication to the organization, pride of being a part of organization, accepting organization’s morals and policies, and wishing to be a part of an organization, it was found that all of them were also ranked at the highest level. (2) Comparing personal factors in terms of age, educational background, marital status, work place, duration at work, and office rank, there were no significant differences (sig > 0.05) in organization commitments. (3) to establish the employee engagement for the officers at the department of Provincial Administration, Buriram province, it was suggested that the administrative officer should encourage employees at all levels to feel being a part of the organization, keeping an open mind towards employees’ problems and opinions including ideas for organization development, and regularly arrange activities to reinforce relationship as a part of the family among each individual. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
153830.pdf | เอกสาณฉบับเต็ม | 12.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License