Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิริยาภรณ์ เชาว์ฉลาด, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-31T07:51:46Z-
dc.date.available2023-08-31T07:51:46Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9327-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง การสำรวจทรัพยากรธรณี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนท่าม่วงราษฎร์บำรุง จังหวัดกาญจนบุรี ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 36 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องการสำรวจทรัพยากรธรณี (2) แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญประสบการณ์แบบ คู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนเกี่ยวกับชุดการสอนแบบ อิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การสำรวจทรัพยากรธรณี มีประสิทธิภาพ 78.51/77.77 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การสำรวจทรัพยากรธรณี มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การสำรวจทรัพยากรธรณี ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการสำรวจทางธรณีวิทยา--สื่อการสอนth_TH
dc.titleชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง การสำรวจทรัพยากรธรณี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนท่าม่วงราษฎร์บำรุง จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeExperience-based instructional packeges in the Science learning area on the survey of mineral resources topic for Mathayom Suksa ll students of Thamuang Rajbumrung School in Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop experience-based instructional packages in the Science Learning Area on the Survey of Mineral Resources topic for Mathayom Suksa II based on the set efficiency criterion; (2) to study the learning progress of students who learned from the experience-based instructional packages; and (3) to study the students’ satisfaction with the experience-based instructional packages. The research sample consisted of 36 Mathayom Suksa II students studying in the second semester of the 2013 academic year at Thamuang Rajbumrung School in Kanchanaburi province, obtained by cluster sampling. The research instruments comprised (1) Experience Unit 8: Survey of Mineral Resources of the experience-based instructional packages in the Science Learning Area on the Survey of Mineral Resources topic; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with the experience-based instructional packages. Statistics for data analysis were the E1/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings were that (1) the experience-based instructional packages on the Survey of Mineral Resources was efficient at 78.51/77.77, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) the students learning from the experience-based instructional packages on the Survey of Mineral Resources Topic achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students were satisfied with the experience-based instructional packages on the Survey of Mineral Resources Topic at the high level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143753.pdf26.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons